Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1577
Title: | The Comparison Ability of Writing in Thai Language Subject By Using Learning Management CIRC Technique Cooperation Prathomsueksa 3 การเปรียบเทียบความสามารถการเขียนวิชาภาษาไทย โดยการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 |
Authors: | Pattarawan Prakobsiem ภัทราวรรณ ประกอบเสริม Sakorn Atthajakara สาคร อัฒจักร Mahasarakham University. The Faculty of Education |
Keywords: | ความสามารถการเขียน การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC Writing Ability CIRC Cooperative Group Learning Management |
Issue Date: | 8 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | The purpose of this research was to compare writing ability in Thai language subjects. The learning management was a cooperative learning group with CIRC Grade 3 techniques. Khlong Luang District Pathum Thani Province Office of Pathum Thani Primary Education Area 1, 27 people The research instruments were 1) 9 plans of CIRC cooperative learning management in Prathomsuksa 3 with a duration of 9 hours, with an appropriateness between 4.46 and 4.57 2) a Thai writing skill test. Grade 3 is a three-choice multiple choice, 30 items, used for pre-school and post-school measurements, which are the same test set. It has a discriminating power (B) between 0.22 and 0.84 and has a confidence in the whole copy of 0.90
The results of the research appeared as follows: Prathomsuksa 3 students who received CIRC cooperative group learning were able to write Thai language subjects after studying higher than before. The mean score (X ̅) was 25.07 points, representing 83.58 percent, with a standard deviation of 1.30
การวิจัยครั้งนี้ความมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบความสามารถการเขียนวิชาภาษาไทย โดยการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดผลาหาร อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 จำนวน 27 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 9 แผน เวลา 9 ชั่วโมง มีความเหมาะสมอยู่ระหว่าง 4.46 ถึง 4.57 2) แบบวัดทักษะการเขียนวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เป็นแบบวัดชนิดปรนัย 3 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ ใช้สำหรับวัดก่อนเรียนและหลังเรียนซึ่งเป็นแบบทดสอบชุดเดียวกัน มีค่าอำนาจจำแนก (B) ระหว่าง 0.22 ถึง 0.84 และมีความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.90 ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค CIRC มีความสามารถการเขียนวิชาภาษาไทยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน มีคะแนนเฉลี่ย (X ̅) เท่ากับ 25.07 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 83.58 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.30 |
Description: | Master of Education (M.Ed.) การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1577 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59010552006.pdf | 5.72 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.