Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/158
Title: Design of A Proton Accelerator-Based Neutron Source for  BNCT Using The MCNP  Simulation
การออกแบบระบบ BNCT ที่ใช้แหล่งกำเนิดนิวตรอนจากเครื่องเร่งอนุภาคโปรตอนด้วยโปรแกรม MCNP 
Authors: Ploypailin Leelanoi
พลอยไพลิน  ลีลาน้อย
Siriyaporn Sangaroon
สิริยาภรณ์ แสงอรุณ
Mahasarakham University. The Faculty of Science
Keywords: ระบบ BSA
การรักษาด้วยเทคนิคโบรอนจับนิวตรอน (BNCT)
BSA system
Boron Neutron Capture Therapy (BNCT)
Issue Date:  27
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The optimization of a beam shaping assembly (BSA) design for Boron Neutron Capture Therapy (BNCT) based on a 30 MeV proton beam generator, has been simulated. The primary goal is to improve the flux of the epithermal neutrons and to prevent the background radiation which are required for the BNCT designation. A BNCT has been simulated using the MCNPX Monte Carlo code. A wide set of material and geometry simulations of neutron multiplier, moderator, reflector, and collimator was examined. The final configuration proper consists of 0.5 cm of beryllium as a p-n converter, 15 cm in radius of uranium as a neutron multiplier, 44 cm of TiF3 and 15 cm of Al2O3 as a first and second layer of moderator, 10 cm thickness of lead as a reflector, and lithium polyethylene as a collimator. However, the proposed BSA in this work did not satisfy all the  recommended by IAEA but it has the best epithermal neutron flux.
งานวิจัยนี้ได้ทำการออกแบบระบบ Beam Shapping Assembly (BSA) สำหรับการรักษาด้วยเทคนิคโบรอนจับนิวตรอน (Boron Neutron Capture Therapy; BNCT) โดยใช้แหล่งกำเนิดนิวตรอนจากเครื่องเร่งอนุภาคโปรตอนพลังงาน 30 MeV โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่ม ฟลักซ์อิพิเทอร์มัลนิวตรอน ลดฟลักซ์เทอร์มัลนิวตรอนและฟลักซ์นิวตรอนพลังงานสูง ซึ่งจำเป็นสำหรับระบบ BNCT โดยใช้โปรแกรม MCNP ในการคำนวณ การออกแบบระบบ BSA ในงานวิจัยนี้ได้คำนวณชุดการจำลองของวัสดุและรูปทรงเรขาคณิต ซึ่งประกอบด้วยตัวเพิ่มจำนวนนิวตรอน (Neutron multiplier) ตัวลดทอนพลังงานนิวตรอน (Moderator) ตัวสะท้อนรังสี (Reflector) และคอลิเมเตอร์ (Collimator) ผลการคำนวณพบว่าวัสดุและค่าความหนาแต่ละส่วนที่เหมาะสมสำหรับระบบ BSA ได้แก่ วัสดุเบริลเลียม (Be) ความหนา 0.5 cm เป็นตัวแปลงพลังงานโปรตอน วัสดุยูเรเนียม (U) ทรงกลมรัศมี 15 cm เป็นตัวเพิ่มจำนวนนิวตรอน วัสดุไทเทเนียมฟลูออไรด์ (TiF3)ความหนา 44 cm เป็นตัวลดทอนพลังงานตัวแรก วัสดุอลูมิเนียมออกไซด์ (Al2O3) ความหนา 15 cm เป็นตัวลดทอนพลังงานตัวที่สอง วัสดุตะกั่ว (Pb) ความหนา 10 cm เป็นตัวสะท้อนรังสี และวัสดุลิเทียมโพลิเอทิลีน (Li-Poly) ความยาว 50 cm เป็นคอลิเมเตอร์ ระบบ BSA ที่นำเสนอในงานวิจัยนี้มีค่าพารามิเตอร์ไม่ตรงตามเกณฑ์ที่ IAEA แนะนำทั้งหมด แต่มีค่าฟลักซ์อิพิเทอร์มัลนิวตรอนที่ดีที่สุด
Description: Master of Science (M.Sc.)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/158
Appears in Collections:The Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010251005.pdf4.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.