Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1583
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThadsnachai Navayuthen
dc.contributorธัศณชัย นวยุทธิ์th
dc.contributor.advisorPhamornpun Yurayaten
dc.contributor.advisorภมรพรรณ์ ยุระยาตร์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-05-25T09:48:43Z-
dc.date.available2022-05-25T09:48:43Z-
dc.date.issued23/3/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1583-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed to 1) study the level of self-efficacy, self-awareness, social skills, and executive function in undergraduate students, Mahasarakham University 2) study the relationship between self-efficacy, self-awareness, social skills, and executive function in undergraduate students, Mahasarakham University and 3) to investigate the impact of self-efficacy factor, self-awareness factor and social skills factor on executive function in undergraduate students, Mahasarakham University. The sample used in the study was 400 undergraduate students from Mahasarakham University in the academic year 2021, selected by multi-stage random sampling technique. The research instruments were 1) self-efficacy questionnaire 2) self-awareness questionnaire 3) social skills questionnaire and 4) executive function questionnaire. The statistical used in the data analysis were percentage, mean, standard deviation and multiple regression analysis.   The results showed as follows: 1. Self-efficacy, self-awareness, social skills and executive function in undergraduate students, Mahasarakham University, overall was at a very good level. 2. Self-efficacy, self-awareness, social skills and executive function in undergraduate students, Mahasarakham University, were significant difference correlated at the .01 level. 3. Self-efficacy factor (SELE), self-awareness factor (SELA), and social skills factor (SOCS) affected executive function in undergraduate students, Mahasarakham University, with a prediction of 70.20% and the discriminant equation in the form of raw scores and standard scores were shown as follows: Discriminant equation in the form of raw scores Y' = .580 + .225 (SELA) + .249 (SELE) + .398 (SOCS) Discriminant equation in the form of standard scores Z'y = .557 ZSELA + .223 ZSELE + .198 ZSOCSen
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ความสามารถของตนเอง การตระหนักรู้ในตนเอง ทักษะทางสังคม และหน้าที่บริหารจัดการของสมอง ในนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเอง การตระหนักรู้ในตนเอง ทักษะทางสังคม และหน้าที่บริหารจัดการของสมอง ในนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยการรับรู้ความสามารถของตนเอง ปัจจัยการตระหนักรู้ในตนเอง และปัจจัยทักษะทางสังคมที่มีต่อหน้าที่บริหารจัดการของสมอง ในนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่กำลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษา 2564 จำนวน 400 คน ได้มาซึ่งโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนเอง 2) แบบวัดการตระหนักรู้ในตนเอง 3) แบบวัดทักษะทางสังคม และ 4) แบบวัดหน้าที่บริการจัดการของสมอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับการรับรู้ความสามารถของตนเอง การตระหนักรู้ในตนเอง ทักษะทางสังคม และหน้าที่บริหารจัดการของสมอง ในนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก 2. การรับรู้ความสามารถของตนเอง การตระหนักรู้ในตนเอง ทักษะทางสังคม และหน้าที่บริหารจัดการของสมอง มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ปัจจัยการรับรู้ความสามารถของตนเอง (SELE) ปัจจัยการตระหนักรู้ในตนเอง (SELA) และปัจจัยทักษะทางสังคม (SOCS) มีความสามารถในการทำนายหน้าที่บริหารจัดการของสมอง ในนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยสามารถทำนายได้ร้อยละ 70.20 และเขียนสมการจำแนกในรูปคะแนนดิบและในรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ สมการจำแนกประเภทในรูปคะแนนดิบ  Y' = .580 + .225 (SELA) + .249 (SELE) + .398 (SOCS) สมการจำแนกประเภทในรูปคะแนนมาตรฐาน  Z'y = .557 ZSELA + .223 ZSELE + .198 ZSOCSth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectหน้าที่บริหารจัดการของสมองth
dc.subjectการรับรู้ความสามารถของตนเองth
dc.subjectการตระหนักรู้ในตนเองth
dc.subjectทักษะทางสังคมth
dc.subjectExecutive Functionen
dc.subjectSelf-Efficacyen
dc.subjectSelf-Awarenessen
dc.subjectSocial Skillsen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleFactors Affecting the Executive Function in Undergraduate Students, Mahasarakham Universityen
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อหน้าที่บริหารจัดการของสมอง ในนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาสารคามth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010553001.pdf6.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.