Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1584
Title: Internal Supervision Model Based on Strategic Management Approach for Student Quality Development of 21st Century Learning Skills in the Primary School under the Office of Basic Education Commission
รูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์ เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียน ​สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Authors: Kunpisit Kongnurat
กุญช์พิสิฎฐ์ คงนุรัตน์
Tharinthorn Namwan
ธรินธร นามวรรณ
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: การนิเทศภายใน
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
Internal Supervision
21st Century Learning Skills
Issue Date:  24
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The research objectives were to 1) study the components and indicators of internal supervision model based on strategic management approach for student quality development of 21st century learning skills in the primary school under the office of basic education commission, 2) to investigate existing situation and desirable situation of internal supervision model based on strategic management approach for student quality development of 21st century learning skills in the primary school under the office of basic education commission, 3) to develop the model for internal supervision model based on strategic management approach for student quality development of 21st century learning skills in the primary school under the office of basic education commission, and 4) to study the results of implementing the developed model for internal supervision model based on strategic management approach for student quality development of 21st century learning skills in the primary school under the office of basic education commission. This research and development study employed 4 phases. The first phase was the study of the components and indicators of internal supervision model based on strategic management approach for student quality development of 21st century learning skills in the primary school under the office of basic education commission from related documents and research with 9 experts verified and confirmed the results. The second phase was the study of the existing situation and desirable situation of internal supervision model based on strategic management approach for student quality development of 21st century learning skills in the primary school under the office of basic education commission. The sampling group were 748 school principals and teachers under the Office of the Basic Education Commission. The third phase was the development of the model for internal supervision model based on strategic management approach for student quality development of 21st century learning skills in the primary school under the office of basic education commission with 9 experts verified and confirmed the results. And the fourth phase was the study for the results of the implementation of the developed model for internal supervision model based on strategic management approach for student quality development of 21st century learning skills in the primary school under the office of basic education commission by experimenting with voluntary schools. The results were as follows: 1. The components and indicators of internal supervision model based on strategic management approach for student quality development of 21st century learning skills in the primary school under the office of basic education commission consists of 4 components and 19 indicators, including 1) Environment analysis with 3 indicators 2) Strategic internal supervision planning with 7 indicators 3) Class visit operations with 4 indicators and 4) Assessment and Conclusion with 5 indicators. 2. The present condition as a whole is at medium level and the issues with the highest to the lowest averages score were Class visit operations (3.42), Assessment and Conclusion (3.38), Strategic internal supervision planning (3.34) and Environment analysis (3.30). The desirable condition is at the highest level and the issues with the highest to the lowest averages score were Strategic internal supervision planning (4.75), Class visit operations (4.73), Environment analysis (4.63) and Assessment and Conclusion (4.63). The issues with the highest priority to the lowest priority were Strategic internal supervision planning (PNImodified = .42), Environment analysis (PNImodified = .40), Class visit operations (PNImodified = .38) and Assessment and Conclusion (PNImodified = .37). 3. The results of developing model for internal supervision model based on strategic management approach for student quality development of 21st  century learning skills in the primary school under the office of basic education commission consists of 4 components and 19 indicators, including 1) Environment analysis with 3 indicators 2) Strategic internal supervision planning with 6 indicators 3) Class visit operations with 4 indicators and 4) Assessment and Conclusion with 6 indicators. The model is suitable and the possibilities are at the highest level. 4. The implementation results of developed model for internal supervision model based on strategic management approach for student quality development of 21st  century learning skills in the primary school under the office of basic education commission, it is found that the level of knowledge assessment score after development is higher than before development with statistical significance of .05. The results of the assessment of activities according to the model before were at a good level and after using it was at a very good level. The satisfaction level for internal supervision based on strategic management concepts for developing the quality of learners to have learning skills in the 21st century under the Office of the Basic Education Commission overall were at the highest level.
การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดของการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการนิเทศภายในตามแนวคิด การจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 4) เพื่อศึกษาผลการนำรูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไปใช้ การดำเนินการวิจัยมี 4 ระยะ ประกอบด้วย ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดของการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ประกอบและตัวชี้วัดจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยอาศัยการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 9 ท่าน ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของรูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน จำนวน 748 คน ระยะที่ 3 การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยอาศัยการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 ท่าน และระยะที่ 4 การนำรูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไปใช้ โดยนำไปทดลองใช้โรงเรียนที่มีความสมัครใจทดลองใช้รูปแบบ ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. องค์ประกอบของการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 4 องค์ประกอบ 19 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 3 ตัวชี้วัด 2) การวางแผนการนิเทศภายในเชิงกลยุทธ์ 7 ตัวชี้วัด 3) การปฏิบัติการเยี่ยมชั้นเรียน 4 ตัวชี้วัด และ 4) การประเมินและสรุปผล 5 ตัวชี้วัด 2. สภาพปัจจุบันภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ การปฏิบัติการเยี่ยมชั้นเรียน (3.42) รองลงมา คือ การประเมินและสรุปผล (3.38) การวางแผนการนิเทศภายในเชิงกลยุทธ์ (3.34) และการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (3.30) ตามลำดับ สภาพที่พึงประสงค์ภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ การวางแผนการนิเทศภายในเชิงกลยุทธ์ (4.75) รองลงมา คือ การปฏิบัติการเยี่ยมชั้นเรียน (4.73) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (4.63) และการประเมินและสรุปผล (4.63) ตามลำดับ ซึ่งมีประเด็นที่มีความต้องการจำเป็นสูงสุด ได้แก่ การวางแผนการนิเทศภายในเชิงกลยุทธ์ (PNImodified = .42) รองลงมา คือ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (PNImodified = .40) การปฏิบัติการเยี่ยมชั้นเรียน (PNImodified = .38) และการประเมินและสรุปผล (PNImodified = .37) ตามลำดับ 3. ผลการพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ 4 องค์ประกอบหลัก 19 แนวทาง ดังนี้ 4 องค์ประกอบ 19 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 3 ตัวชี้วัด 2) การวางแผนการนิเทศภายในเชิงกลยุทธ์ 6 ตัวชี้วัด 3) การปฏิบัติการเยี่ยมชั้นเรียน 4 ตัวชี้วัด และ 4) การประเมินและสรุปผล 6 ตัวชี้วัด และผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้รูปแบบ โดยรวมอยู่ใน ระดับมากที่สุด 4. ผลการนำรูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไปใช้ พบว่า คะแนนประเมินความรู้หลังการเข้าร่วมรูปแบบสูงกว่าคะแนนประเมินความรู้ก่อนการเข้าร่วมรูปแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ผลการประเมินการทำกิจกรรมตามรูปแบบฯ ก่อนใช้อยู่ในระดับดี หลังใช้อยู่ในระดับดีมาก และผลการประเมินระดับความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด
Description: Doctor of Education (Ed.D.)
การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1584
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010562001.pdf13.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.