Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1605
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNawaporn Luengyuangen
dc.contributorนวพร เหลืองยวงth
dc.contributor.advisorSupannika Wattanaen
dc.contributor.advisorสุพรรณนิกา วัฒนะth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Engineeringen
dc.date.accessioned2022-06-23T09:34:59Z-
dc.date.available2022-06-23T09:34:59Z-
dc.date.issued28/4/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1605-
dc.descriptionMaster of Engineering (M.Eng.)en
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research studied an assessment of corporate carbon footprint in the case of a beverage manufacturing factory consisting of 3 products (beer, soda and drinking water). In this research, the information on greenhouse gas emissions and reabsorption in this factory was collected from January to December 2020. The results revealed that the beer industry generated a total of 221,380 tons of CO2e per year. And, the annual amount of greenhouse gas emitted from the first, second, and third groups of activities was 15,877, 20,629 and 184,874 tons of CO2e respectively. The activity that generated the highest annual amount of greenhouse gas emissions was greenhouse gas emissions from the third activity group – mostly from the use of materials (66% of total greenhouse gas emissions). This research further recommended that a reduction of new beer bottles by substituting old bottles would help decreasing greenhouse gas emissions.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร ในกรณีของโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเครื่องดื่มซึ่งมีผลิตภัณฑ์ 3 ประเภท คือ เบียร์ โซดา และน้ำดื่ม โดยงานวิจัยนี้ได้ดำเนินการรวบรวมข้อมูลปริมาณการปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นในโรงงานตั้งแต่ เดือนมกราคม ถึง เดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2563 ผลการศึกษาพบว่าปริมาณก๊าซเรือนกระจกของโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเครื่องดื่ม เท่ากับ 221,380 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี และปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมประเภทที่ 1, 2 และ 3 เท่ากับ 15,877, 20,629 และ 184,874 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อปี ตามลำดับ กิจกรรมที่ส่งผลต่อการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุดมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอื่น ๆ (ประเภทที่ 3) ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์ คิดเป็น 66 เปอร์เซ็นต์ ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดของโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเครื่องดื่ม ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงนำเสนอวิธีการช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยการลดการใช้ขวดเบียร์แก้วใหม่และหันมาใช้ขวดเบียร์แก้วเก่าth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรth
dc.subjectก๊าซเรือนกระจกth
dc.subjectโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเครื่องดื่มth
dc.subjectCarbon footprint for organizationen
dc.subjectGreenhouse gaseen
dc.subjectBeverage manufacturing factoryen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.titleCorporate Carbon Footprint Assessment: A Case Study of Beverage Manufacturing Factory en
dc.titleการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร กรณีศึกษา โรงงานอุตสาหกรรมผลิตเครื่องดื่ม th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:The Faculty of Engineering

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010381003.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.