Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1610
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Supannee Meesuk | en |
dc.contributor | สุพรรณี มีสุข | th |
dc.contributor.advisor | Supannika Wattana | en |
dc.contributor.advisor | สุพรรณนิกา วัฒนะ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Engineering | en |
dc.date.accessioned | 2022-06-23T09:35:00Z | - |
dc.date.available | 2022-06-23T09:35:00Z | - |
dc.date.issued | 28/4/2022 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1610 | - |
dc.description | Master of Engineering (M.Eng.) | en |
dc.description | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This study aimed to assess carbon footprint of beer products and provide recommendations for reducing greenhouse gases emissions from beer production processes. The method employed in this study was the Cradle–to–Grave (Business-to-Consumer: B2C) of Life Cycle Assessment (LCA). The assessment was applied to 3 types of beer products including bottled beer (620 ml), canned beer (320 ml) and keg beer (30 liters). The results indicated that the carbon footprint of bottled beer, canned beer and keg beer were 0.3614, 0.1184 and 5.9021 kgCO2e per product unit. It is further shown that the raw material acquisition process contributed to highest GHG emissions – about 47% of total GHG emissions, followed by manufacturing process – accounting for 36% of total GHG emissions. This paper further recommended that a reuse of glass bottles, a reduction in the damage caused by bottle washing process and an increased proportion of natural gas instead of fuel oil consumption in steam production would be an effective way to help reduce greenhouse gases emissions. | en |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์เบียร์และนำเสนอแนวทางในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกระบวนการผลิตเบียร์ โดยใช้หลักการประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment: LCA) แบบ Cradle–to–Grave (Business-to-Consumer: B2C) เพื่อทำการประเมินผลิตภัณฑ์เบียร์ขวด ขนาดบรรจุ 620 มิลลิลิตร ผลิตภัณฑ์เบียร์กระป๋อง ขนาดบรรจุ 320 มิลลิลิตร และผลิตภัณฑ์เบียร์ถัง ขนาดบรรจุ 30 ลิตร จากการศึกษาพบว่า คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์เบียร์ขวด เบียร์กระป๋อง และเบียร์ถัง เท่ากับ 0.3602 0.1184 และ 5.9021 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ โดยกระบวนการได้มาซึ่งวัตถุดิบมีค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด คิดเป็น 47 เปอร์เซ็นต์ ลำดับที่สองคือกระบวนการผลิต คิดเป็น 36 เปอร์เซ็นต์ และแนวทางในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ควรมุ่งเน้นไปที่การนำขวดเก่ามาใช้ในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้น การลดความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการล้างขวดและการเพิ่มสัดส่วนการใช้ก๊าซธรรมชาติ ในการผลิตไอน้ำแทนการใช้น้ำมันเตา | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์เบียร์ | th |
dc.subject | Carbon footprint of beer products | en |
dc.subject.classification | Engineering | en |
dc.title | An Assessment of Carbon Footprint of Beer Products | en |
dc.title | การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์เบียร์ | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าอิสระ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Engineering |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63010381014.pdf | 1.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.