Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1616
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Jiraporn Wilajan | en |
dc.contributor | จิราพร วิลาจันทร์ | th |
dc.contributor.advisor | Butsara Yongkhamcha | en |
dc.contributor.advisor | บุษรา ยงคำชา | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Science | en |
dc.date.accessioned | 2022-06-23T09:48:42Z | - |
dc.date.available | 2022-06-23T09:48:42Z | - |
dc.date.issued | 11/5/2022 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1616 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The study aims to develop the scientific thinking of the Prathomsuksa 4 students by applying the Predict-Observe-Present-Explain (POPE) learning strategy to pass the 70% criterion. The target group was 6 students in Prathomsuksa 4 at Bandonsanti School, Kosum Phisai District, Maha Sarakham Province, under Mahasarakham Primary Education Service Area Office 3. The participants chosen by purposive sampling were studying in the second semester of the academic year 2021. The research instruments were 12 POPE learning activities on materials and matter, which took a total of 12 hours. The tools used to assemble the data include the 30 multiple-choice questions on scientific thinking and the scientific thinking behavior assessment, which is a checklist of eight items. Mean, percentage, and standard deviation were employed to analyze the data. The findings indicated that the students’ scientific thinking average scores were 65% in the first cycle and the scores in the second cycle were 79.45%, which is higher than the criterion. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมเรียนรู้แบบการทำนาย-สังเกต-นำเสนอ-อธิบาย (Predict-Observe-Present-Explain, POPE) ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 โดยกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านดอนสันติ อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3 ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 6 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือใช้ในการวิจัย ได้แก่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ POPE เรื่อง วัสดุและสสาร จำนวน 12 แผน ใช้เวลาทั้งหมด 12 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบวัดการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ และแบบประเมินพฤติกรรมการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นแบบตรวจสอบรายการ (checklist) จำนวน 8 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า วงจรปฏิบัติการที่ 1 นักเรียนมีคะแนนการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 65 และวงจรปฏิบัติการที่ 2 นักเรียนมีคะแนนการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์เฉลี่ยร้อยละ 79.45 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การจัดกิจกรรมเรียนรู้แบบการทำนาย-สังเกต-นำเสนอ-อธิบาย | th |
dc.subject | การคิดเชิงวิทยาศาสตร์ | th |
dc.subject | Predict-Observe-Present-Explain (POPE) learning strategy | en |
dc.subject | Scientific thinking | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | The Development of Scientific Thinking for Prathomsuksa 4 Students based on Predict-Observe-Present-Explain (POPE) Activity Management | en |
dc.title | การพัฒนาการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ทำนาย-สังเกต-นำเสนอ-อธิบาย | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63010281102.pdf | 2.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.