Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1625
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKanchanok Jantariten
dc.contributorกานต์ชนก จันทฤทธิ์th
dc.contributor.advisorKanyarat Sonsupapen
dc.contributor.advisorกันยารัตน์ สอนสุภาพth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-06-23T10:50:12Z-
dc.date.available2022-06-23T10:50:12Z-
dc.date.issued2/6/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1625-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objective of this research were: 1) to develop learning activities using Model-Based Learning, 2) to compare learning achievements between before and after Model-Based Learning activities, 3) to study students' modeling skills. The sample group consisted of 38 Mathayomsuksa 4/7 student attending in the second semester of academic year 2020, Maha Sarakham University Demonstration School from purposive sampling. The research instruments were: 1) the lesson plans of Model-Based Learning, 2) an achievement test, 3) a model quality assessment, 4) modeling skill assessment in construction and use processes, 5) modeling skill assessment in improvement and changeable processes, 6) semi-structured Interview form. The data analysis statistics were averages, standard deviations, and T- test. The result of the study revealed that: 1) the developed learning activities using Model-Based Learning were four steps consisting of model construction, model evaluation, model change and improvement, and model expansion. 2) The achievement of the students in posttest was higher than pretest at .01 level of significance. 3) The average score of the student's model quality assessment was 4.47 which was good level, the average score of modeling skill in construction and use process was 2.84 which was good level, and the average score modeling skill in improvement and changeable process was 2.99 which was good level.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน 2) เปรียบเทียบสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง สารอาหารและสารเคมีในสิ่งมีชีวิต ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน 3) ศึกษาทักษะการสร้างแบบจำลอง โดยใช้การจัดการเรียนรู้โดยแบบจำลองเป็นฐานสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในวิชาชีววิทยา เนื้อหา สารอาหารและสารเคมีในสิ่งมีชีวิต โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 38 คน โดยรูปแบบการวิจัยเป็นแบบการวิจัยและพัฒนา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน จำนวน 5 แผน 10 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารอาหารและสารเคมีในสิ่งมีชีวิต ชนิดปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ 3) แบบประเมินคุณภาพของแบบจำลอง ชนิดเกณฑ์ให้คะแนนแบบรูบริค 5 ระดับ 4) แบบประเมินกระบวนการสร้างแบบจำลองด้านการสร้างและใช้แบบจำลอง ชนิดเกณฑ์ให้คะแนนแบบรูบริค 4 ระดับ 5) แบบประเมินกระบวนการสร้างแบบจำลองด้านการปรับปรุงและเปลี่ยนแบบจำลอง ชนิดเกณฑ์ให้คะแนนแบบรูบริค 4 ระดับ 6) แบบสัมภาษณ์การจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน ชนิดกึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการทดสอบค่าที  ผลวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1.  การพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน ได้แผนการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน จำนวน 5 แผน รวมเวลา 9 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน มีขั้นตอนในการจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอนคือ การสร้างแบบจำลอง การประเมินแบบจำลอง การแก้ไขและปรับปรุงแบบจำลอง และการขยายแบบจำลอง 2.  นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3.  คะแนนเฉลี่ยของการประเมินคุณภาพของแบบจำลองของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานเท่ากับ 4.47 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี และผลการศึกษาทักษะกระบวนการการสร้างแบบจำลองพบว่า คะแนนเฉลี่ยของการประเมินทักษะกระบวนการสร้างแบบจำลองด้านการสร้างและการใช้ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานเท่ากับ 2.84 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี และคะแนนเฉลี่ยของการประเมินทักษะกระบวนการสร้างแบบจำลองด้านการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงแบบจำลอง เท่ากับ 2.99 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดีth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานth
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาth
dc.subjectทักษะการสร้างแบบจำลองth
dc.subjectModel-based learningen
dc.subjectAchievementen
dc.subjectModeling skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Biology Learning Activities Using Model-Based Learning (MBL) on Nutrients and Chemicals in Living Organisms for Mathayomsuksa 4 Studenten
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง สารอาหารและสารเคมีในสิ่งมีชีวิตth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010556002.pdf4.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.