Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1628
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSureephan Sinpoonen
dc.contributorสุรีพรรณ สินพูนth
dc.contributor.advisorMontree Wongsaphanen
dc.contributor.advisorมนตรี วงษ์สะพานth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-06-23T10:50:13Z-
dc.date.available2022-06-23T10:50:13Z-
dc.date.issued1/5/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1628-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of the research ware 1) to efficiency of the lesson plans by using the problem-based learning on the topic of “rocks and world changes” on the 80/80 standardized criteria efficiency 2) to assess the effectiveness of the lesson plans by using the problem-based learning on the topic of “rocks and world changes 3) to compare concept of Scientific Process Skills of the pratomsuksa Six students using the problem-based learning on the 75 percentage criteria and 4) to compare the achievement of the pratomsuksa Six students using the problem-based learning on the 75 percentage criteria. The experimental group were twenty 6th grade students at Bannasano school, Dontan District, Mukdahan Province. They were selected by the purposive sampling. The research instruments were lesson plans, problem-based learning activities, an achievement test and a test of scientific process skill. The statistics used for analyzing the data were percentage, mean, standard deviation and t-test (one-sample) for testing hypotheses. Findings of the research were shown as following: 1. The efficiency of the lesson plans on the topic of “rocks and world changes” by using the problem-based learning efficiency was 82.83/84.08. 2. The effectiveness of the lesson plans on the topic of“rocks and world changes” effectiveness was 0.6678 students progress was 66.78 percentage. 3. The students who learned using the problem-based learning concept of scientific  process skills mean was 25.15 (83.83%) standard deviation was 0.75 is higher than 75 percentage criteria with a statistically significant level of .05. 4. The students who learned using the problem-based learning using a problem-based learning achievement mean was 25.30 (84.33%) standard deviation was 0.86 is higher than 75 percentage criteria with a statistically significant level of .05.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายของการวิจัย 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง หินและการเปลี่ยนแปลงของโลก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง หินและการเปลี่ยนแปลงของโลก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 3) เพื่อเปรียบเทียบมโนทัศน์ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่จัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานกับเกณฑ์ร้อยละ 75 4) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่จัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานกับเกณฑ์ร้อยละ 75 โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านนาสะโน อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร จำนวนนักเรียน 20 คน จำนวน 1 ห้องเรียน ได้มาด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือในการวิจัยในครั้งนี้มี 3 ประเภท ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง หินและการเปลี่ยนแปลงของโลก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 8 แผน เป็นเวลา 16 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ 3) แบบวัดมโนทัศน์ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วย t-test (One-sample)   ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง หินและการเปลี่ยนแปลงของโลก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 82.83/84.08 2. ดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการเรียนรู้แบบแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง หินและการเปลี่ยนแปลงของโลก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเท่ากับ 0.6678 แสดงว่านักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 66.78 3. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มีมโนทัศน์ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เฉลี่ยเท่ากับ 25.15 คิดเป็นร้อยละ 83.83 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.75 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือ ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เฉลี่ยเท่ากับ 25.30 คิดเป็นร้อยละ 84.33 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.86 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคือ ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานth
dc.subjectกระบวนการทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectหินและการเปลี่ยนแปลงของโลกth
dc.subjectProblem-based Learning Managementen
dc.subjectScientific Process Skillsen
dc.subjectLearning Achievementsen
dc.subjectRocks and World Changesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleProblem-based Learning Management that Affects Concept of Scientific Process Skills and Learning Achievements on Rocks and World Changes of Pratomsuksa Six Studentsen
dc.titleการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานที่ส่งผลต่อมโนทัศน์ด้านทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง หินและการเปลี่ยนแปลงของโลก ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010585513.pdf7.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.