Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1632
Title: The Study on Physical Activity Programs Affecting Physical Fitness in Working-Age Adults During the Coronavirus Disease 2019 Situation
รูปแบบการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่ส่งผลต่อสมรรถภาพทางกายสำหรับวัยทำงานในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Authors: Kritchapol Arsapakdee
กฤชพล อาษาภักดี
Chairat Choosakul
ชัยรัตน์ ชูสกุล
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: กิจกรรมทางกาย
สมรรถภาพทางกาย
วัยทำงาน
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
Physical Activity
Physical Fitness
Working Adults
Corona Virus 2019 (COVID-19)
Issue Date:  3
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This research is quasi-experimental research aiming to study the effects of a physical activity promotion program and compare the physical activity levels with the physical fitness of working adults during the Coronavirus Disease 2019 Situation, the sample group in Phase 1 research consisted of 400 people, Phase 2 of 50 people. The research instruments were 1) a physical activity promotion program for working adults, 2) a physical fitness test, and 3) Global Physical. Activity Questionnaire: GPAQ version 2 and 4) Physical activity Recording. Statistics were used to compare before and after using the physical activity promotion program. Data were analyzed using Mean, Percentage, Standard Deviation, Two-Way Repeated-Measures MANOVA, and Bonferroni for the post-hoc procedure. The results were that 1. Physical activity level and amount of exercise of working-age personnel of males were higher than females. 2. The physical fitness of the experimental group was better than the control group. Flexibility, muscles strength of hand and forearm, leg muscle strength and endurance, and cardiovascular endurance. There was not statistically significant difference between the trial week and 8 weeks after the trial. However, after 8 weeks and after 12 weeks  the trial, there was significantly different at the statistical level of .05.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และเปรียบเทียบระดับของกิจกรรมทางกายและสมรรถภาพทางกายของวัยทำงาน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยระยะที่ 1 จำนวน 400 คน ระยะที่ 2 จำนวน 50 คน เครื่องมือวิจัยคือ  โปรแกรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกายสำหรับวัยทำงาน แบบทดสอบสมรรถภาพทาง แบบสำรวจกิจกรรมทางกายระดับสากล และสมุดบันทึกกิจกรรมทางกาย สถิติที่ใช้ในการเปรียบเทียบก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณแบบสองทาง (Two-Way Repeated-Measures MANOVA) และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี Bonferroni ผลการวิจัยพบว่า 1.ระดับกิจกรรมทางกายและปริมาณการออกกำลังกาย ของบุคลากรวัยทำงาน ของเพศชาย มีค่าสูงกว่าเพศหญิง  2. สมรรถภาพทางกายของกลุ่มทดลองดีกว่ากลุ่มควบคุม ด้านความยืดหยุ่นของข้อต่อ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือและแขนท่อนล่าง ความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อขา และความทนทานของระบบไหลเวียนโลหิต ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง 8 สัปดาห์ ไม่แตกต่างกัน แต่หลังการทดลองสัปดาห์ที่ 8 และหลังการทดลองสัปดาห์ที่ 12  แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Description: Master of Science (M.Sc.)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1632
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010550001.pdf19.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.