Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1637
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPatchiraporn Haddaen
dc.contributorพัชชิราภรณ์ ฮาดดาth
dc.contributor.advisorYada Thadanatthaphaken
dc.contributor.advisorญดา ธาดาณัฐภักดิ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-06-23T10:50:14Z-
dc.date.available2022-06-23T10:50:14Z-
dc.date.issued6/6/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1637-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe research aims to 1) develop a learning management plan based on Davies's concept that promotes the basic table tennis skills of first-graders who are effective according to the criteria 80/80 2) to study the development of basic table tennis skills of first-graders after class by managing learning according to Davies's concept 3) to study satisfaction with Davies's conceptual learning management. The sample included 36 students in grade 1/6 semester 2 academic year 2021 Mahasarakham Demonstration School (Secondary Department), obtained by simple random sampling method raffle selecting a room using the classroom as a random unit. The research tools include 1) learning management plan table tennis course health education and physical education material group of first graders by Davies conceptual learning management 8 learning management plans an average plan assessment of 4.45 which is of very reasonable quality 2) table tennis basic skills assessment including : Guessing the front of the hand – the back of the hand Front-hand , serve backhand , serve forehand , hittingback of hand batting , counter attacking 3) Satisfaction questionnaires towards learning management based on Davies's concept. There is a classification power between 0.50 – 1.00 and a total sentiment value of 0.74. The results of the research were as follows : 1) Davies's conceptual learning arrangements to promote the basic table tennis skills of first-graders were effective (E1/E2) of 84.34/83.59 which was above the threshold. 2) The development of basic table tennis skills of first graders after class with Davies's conceptual learning management.     2.1) The development of front-hand guessing skills – back of the hand after class is higher than before class, with an average before class of 15.3 average After class is 18.4 and has an average The development score is 69.2 which is higher developmental.     2.2) The development of front-hand serve skills After class, the average before class was 14.3, the average After class is 17.3 and has an average The development score is 52.5 which is higher in development.     2.3) The development of back-hand serving skills after class was higher than before class, with an average before class of 13.9 on average After class is 17.3 and has an average The development score is 55.1  which is highly developed.     2.4) The development of front-hand hitting skills After class, the average before class was 12.9, the average After class is 16.0 and has an average The development score is 43.4 which is under the intermediate developmental threshold.     2.5) The development of back-hand hitting skills after class was higher than before class, with an average before class of 13.1 average After class is 16.7 and has an average The development score is 52.0 which is highly developed.     2.6) The development effects of countermeasure skills After class, the average before class was 4.1, the average After class is 6.2 and has an average The development score is 35.6 which is within the intermediate developmental criteria     2.7) The development of all six basic double tennis skills after study is higher than before class, with an average before class of 73.7 average After class is 91.9 and has an average The development score is 51.1 which is highly developed. 3) Students are satisfied with Davies' conceptual learning management to promote the basic table tennis skills of first graders at the highest level the average = 4.62 and S.D. = 0.58en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมาย คือ 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์ ที่ส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อศึกษาพัฒนาการทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการเรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยามหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จำนวน 36 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) จับฉลากเลือกห้องโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเทเบิลเทนนิส กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์ จำนวน 8 แผนการจัดการเรียนรู้ ได้ค่าเฉลี่ยการประเมินแผนเท่ากับ 4.45 ซึ่งมีคุณภาพอยู่ในระดับเหมาะสมมาก 2) แบบประเมินทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ประกอบด้วย การเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ การเสิร์ฟลูกหน้ามือ การเสิร์ฟลูกหลังมือ การตีลูกหน้ามือ การตีลูกหลังมือ การตีโต้ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์ มีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.50 – 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.74 ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์ เพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 84.34/83.59 ซึ่งเป็นไปสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 2. ผลพัฒนาการทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการเรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์     2.1 ผลพัฒนาการทักษะการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีค่าเฉลี่ย ก่อนเรียนเท่ากับ 15.3 ค่าเฉลี่ย หลังเรียนเท่ากับ 18.4 และมีค่าเฉลี่ย คะแนนพัฒนาการเท่ากับ 69.2 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง    2.2 ผลพัฒนาการทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามือ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีค่าเฉลี่ย ก่อนเรียนเท่ากับ 14.3 ค่าเฉลี่ย หลังเรียนเท่ากับ 17.3 และมีค่าเฉลี่ย คะแนนพัฒนาการเท่ากับ 52.5 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง     2.3 ผลพัฒนาการทักษะการเสิร์ฟลูกหลังมือ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีค่าเฉลี่ย ก่อนเรียนเท่ากับ 13.9 ค่าเฉลี่ย หลังเรียนเท่ากับ 17.3 และมีค่าเฉลี่ย คะแนนพัฒนาการเท่ากับ 55.1 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง     2.4 ผลพัฒนาการทักษะการตีลูกหน้ามือ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีค่าเฉลี่ย ก่อนเรียนเท่ากับ 12.9 ค่าเฉลี่ย หลังเรียนเท่ากับ 16.0 และมีค่าเฉลี่ย คะแนนพัฒนาการเท่ากับ 43.4 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับกลาง     2.5 ผลพัฒนาการทักษะการตีลูกหลังมือ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีค่าเฉลี่ย ก่อนเรียนเท่ากับ 13.1 ค่าเฉลี่ย หลังเรียนเท่ากับ 16.7 และมีค่าเฉลี่ย คะแนนพัฒนาการเท่ากับ 52.0 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง     2.6 ผลพัฒนาการทักษะการตีโต้ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีค่าเฉลี่ย ก่อนเรียนเท่ากับ 4.1 ค่าเฉลี่ย หลังเรียนเท่ากับ 6.2 และมีค่าเฉลี่ย คะแนนพัฒนาการเท่ากับ 35.6 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับกลาง     2.7 ผลพัฒนาการทักษะพื้นฐานกีฬาเบิลเทนนิส ทั้ง 6 ทักษะ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีค่าเฉลี่ย ก่อนเรียนเท่ากับ 73.7 ค่าเฉลี่ย หลังเรียนเท่ากับ 91.9 และมีค่าเฉลี่ย คะแนนพัฒนาการเท่ากับ 51.1 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์ เพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 4.62 และ S.D. = 0.58)th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์th
dc.subjectทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสth
dc.subjectDavies's Conceptual Learning Managementen
dc.subjectTable Tennis Basic Skillsen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleThe learning management based on Davies's theory to develop table tennis skill of matthayomsuksa 1en
dc.titleการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์ เพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010552006.pdf3.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.