Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1639
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuchada Pumkaewen
dc.contributorสุชาดา ปุ่มแก้วth
dc.contributor.advisorApiradee Junsangen
dc.contributor.advisorอภิราดี จันทร์แสงth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-06-23T10:50:15Z-
dc.date.available2022-06-23T10:50:15Z-
dc.date.issued23/4/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1639-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this study were 1) to develop learning management of historical method with infographic to enhance conceptual thinking with an efficiency of 70/70 2) compare to conceptual thinking after learning management of historical method with infographic of Grade 7 students 3) compare to the pretest-postest of historical method with infographic. The sample group of this research were 30 students of Grade 7, Bansongnangyai Municipal School in the second semester of the 2021 academic year, obtained by simple random sampling. The research instrument included 1) the lesson plan 2) a conceptual thinking test 3) a learning achievement test 4) Infographic. The statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation, the formula E1/E2 and The Wilcoxon Signed-Ranks Test.  The findings were as follows 1) learning management of historical method with infographic to enhance conceptual thinking of Grade 7 students was 77.31/73.17 2) the students have conceptual thinking after learning management of historical method with infographic was at a good level 3) the learning achievement of the students after learning management of historical method with infographic were higher than before at the level of .05 significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบวิธีการทางประวัติศาสตร์ร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก เพื่อส่งเสริมความคิดเชิงมโนทัศน์ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 2) เพื่อศึกษาความคิดเชิงมโนทัศน์หลังการจัดการเรียนรู้แบบวิธีการทางประวัติศาสตร์ร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบวิธีการทางประวัติศาสตร์ร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โรงเรียนเทศบาลบ้านส่องนางใย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบวัดความคิดเชิงมโนทัศน์  3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) สื่ออินโฟกราฟิก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) และสถิติวิลคอกซัน (The Wilcoxon Signed-Ranks Test) ผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดการเรียนรู้แบบวิธีการทางประวัติศาสตร์ร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก เพื่อส่งเสริมความคิดเชิงมโนทัศน์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 77.31/73.17 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 2) นักเรียนมีความคิดเชิงมโนทัศน์หลังการจัดการเรียนรู้แบบวิธีการทางประวัติศาสตร์ร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกโดยรวมอยู่ในระดับดี 3) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบวิธีการทางประวัติศาสตร์ร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบวิธีการทางประวัติศาสตร์ สื่ออินโฟกราฟิก ความคิดเชิงมโนทัศน์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectLearning Management of Historical Method Infographic Conceptual Thinking Learning Achievementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleLearning Management of Historical Method with Infographicto Enhance Conceptual Thinking of Grade 7 Students en
dc.titleการจัดการเรียนรู้แบบวิธีการทางประวัติศาสตร์ร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกเพื่อส่งเสริมความคิดเชิงมโนทัศน์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010552009.pdf7.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.