Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1640
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhatsawut Phophantharaten
dc.contributorภัทราวุธ โพพันทะราชth
dc.contributor.advisorYada Thadanatthaphaken
dc.contributor.advisorญดา ธาดาณัฐภักดิ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-06-23T10:50:15Z-
dc.date.available2022-06-23T10:50:15Z-
dc.date.issued22/5/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1640-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed 1) to develop of Movement and Rhythmic Activity Enhancing Dancing Skills for Mathayomsuksa 3 Students to pass the criteria 70 percent. 2) to compare Dancing Skills before and after using for Student’s criteria 70 percent. The sample was the Mathayomsuksa 3 Students in Mahasarakham University Demonstration School (Secondary), 39 people second semester of academic year of 2021. The instrument used in this study were 1) Plans for learning by Rhythmic Activities, with 4 Plans for 12 hours of learning. and 2) Dancing Skills test. The statistics used for analyzing the data were percentage, mean and standard deviation. The results of the study were as follows : 1. The efficiency of the movement and rhythmic activities lesson plan was 84.15/83.28 which was higher than the expected criteria.  2. Mathayomsuksa 3 students’ who attended the activities had their average scores in dancing skills higher than before attending the activities.  was 67.49/83.28 which was higher than the expected criteria.                             In summary, the Development of Movement and Rhythmic Activity Enhancing Dancing Skills for Mathayomsuksa 3 Students was efficient and actually helped students practice themselves by using their bodies to move which made them enjoyable and also received compliments after dancing. Therefore, it should be used for teaching activities in physical education in other classes.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและเข้าจังหวะที่ส่งเสริมทักษะการเต้นรำให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 2) และเปรียบเทียบทักษะการเต้นรำ ของนักเรียนก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและเข้าจังหวะ เทียบเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) จำนวน 39 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชา กิจกรรมเข้าจังหวะ จำนวน 4 แผน 12 ชั่วโมง และ 2) การทดสอบทักษะปฏิบัติการเต้นรำ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. ประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและเข้าจังหวะที่ส่งเสริมทักษะการเต้นรำ มีค่าเท่ากับ 84.15/83.28 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2. ทักษะการเต้นรำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและเข้าจังหวะ ก่อนเรียนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 67.49 หลังเรียนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 83.28 มีคะแนนเฉลี่ยทักษะการเต้นรำหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน          โดยสรุป การพัฒนากิจกรรมการเคลื่อนไหวและเข้าจังหวะที่ส่งเสริมทักษะการเต้นรำของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพที่เหมาะสม ช่วยให้นักเรียนปฏิบัติได้จริง มีการใช้ร่างกายในการเคลื่อนไหว ทำให้นักเรียนเกิดความสนุกสนาน และได้รับคำชมเชยหลังการเต้นรำ ดังนั้นจึงควรนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาพลศึกษาในชั้นอื่น ๆ ต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการเคลื่อนไหวและเข้าจังหวะth
dc.subjectกิจกรรมเข้าจังหวะth
dc.subjectทักษะการเต้นรำth
dc.subjectMovement and Rhythmic Activityen
dc.subjectRhythmic Activitiesen
dc.subjectDancing Skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Movement and Rhythmic Activity Enhancing Dancing Skills for Mathayomsuksa 3 Studentsen
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเคลื่อนไหวและเข้าจังหวะที่ส่งเสริมทักษะการเต้นรำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010552011.pdf4.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.