Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1643
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNicha Phankanoken
dc.contributorณิชา พันธ์กนกth
dc.contributor.advisorAtthapon Intasenaen
dc.contributor.advisorอัฐพล อินต๊ะเสนาth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-06-23T10:50:15Z-
dc.date.available2022-06-23T10:50:15Z-
dc.date.issued3/5/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1643-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research has objectives are 1) To develop SSCS learning management on sequence for the students secondary 5 to be effective standard 75/75 2) To compare ability solving math problems between pre-test and post-test of the students received SSCS learning management on sequence. 3) To learn contentment to study the mathematics of the students secondary 5 with SSCS learning management. The simple group used in this research was students secondary 5 at Phadungnaree School. They studying in the second semester of the academic 2021. 40 people from group randomization Research tools are 1) SSCS learning management plan amount 5 plans 10 hours. 2) Achievement test learning mathematics. Subjective exam amount 5 items. 4) To learn contentment to study SSCS learning management of the students secondary 5 amount 10 items. The statistics used in the research such as percentage, average, standard deviation and t-test statistics (t-test dependent sample) The result of the research follows: 1) SSCS learning management plan on sequence of the students secondary 5 to be effective of 76.15/79.13 to be standard 75/75 2) The students who were able to solve math problems received SSCS learning management post-test highly than pre-test. Statistically significant at the .05 level. 3) Th students secondary 5 that learn SSCS learning management. The overall satisfaction was at a very high level. It has an average of 4.55 and a standard deviation of 0.49.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย คือ 1) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS เรื่อง ลำดับ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS เรื่อง ลำดับ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้นั้นเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนผดุงนารี ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 จำนวน 40 คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 5 แผน 10 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ลำดับ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ SSCS ข้ออัตนัย จำนวน 5 ข้อ  3) แบบวัดความพึงพอใจต่อการเรียน เรื่อง ลำดับ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ SSCS เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 10 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ t-test dependent sample ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS เรื่อง ลำดับ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพเท่ากับ 76.15/79.13 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 75/75 2) นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.55 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.49th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบ SSCSth
dc.subjectLearning Management Using SSCS Modelen
dc.subjectMathematical Problem Solving Abilityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleLearning Management Using SSCS Model for The Development of Mathematical Problem Solving Ability of Mathayomsuksa 5 Studentsen
dc.titleการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010552021.pdf5.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.