Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1661
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWatcharaporn Saengtiden
dc.contributorวัชราภรณ์ แสงทิตย์th
dc.contributor.advisorSutham Thamatasenahanten
dc.contributor.advisorสุธรรม ธรรมทัศนานนท์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-06-23T10:50:18Z-
dc.date.available2022-06-23T10:50:18Z-
dc.date.issued21/4/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1661-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstract  This research aims 1) to study the current condition. Desirable condition and the need needed to strengthen teachers' digital leadership. Under the Nakhon Ratchasima Secondary Education Service Area Office  2) To develop a program to enhance teachers' digital leadership Under the Nakhon Ratchasima Secondary Educational Service Area Office, it is divided into 2 phases. Under the Nakhon Ratchasima Secondary Educational Service Area Office, 346 people were obtained by stratification method. Research tools include questionnaires .06, assessing suitability by 5 experts, phase 2, development of a program to enhance digital leadership of teachers Under the Nakhon Ratchasima Secondary Education Service Area Office by seminar based on experts (Connoisseurship) of 9 people to find guidelines for drafting the program. And verify the program with a focus group (Focus Group) by experts. The research instrument was a semi-structured interview form. Program feasibility and feasibility assessment form The statistics used in the data analysis were the conformity index, percentage, mean and standard deviation, and the demand index (PNI).Modified ). The results showed that. 1. The current state of teacher digital leadership Overall, it's at a high level. The Desirable Conditions of Teacher Digital Leadership Overall, it was at the highest level. 2. Teacher Digital Leadership Enhancement Program Under the Nakhon Ratchasima Secondary Educational Service Area Office, it was found that: 1) Principle 2) Objective 3) Content There are 4 modules which are digital resource management. Digital Integration Teaching Digital Applications and Digital Communications The results of the assessment of teachers' digital leadership enhancement program Under the Nakhon Ratchasima Secondary Educational Service Area Office, it was found that overall the appropriateness was at the highest level. and the possibility is high.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นในการเสริมสร้างภาวะผู้นำดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา  2) เพื่อพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา จำนวน 346 คน ได้มาโดยวิธีแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามมีค่าความสอดคล้องตั้งแต่ .60  ประเมินความเหมาะสมโดย ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน คน ระยะที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมาโดยการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) จำนวน 9 คน เพื่อหาแนวการยกร่างโปรแกรม และตรวจสอบยืนยันโปรแกรมด้วยการสนทนากลุ่ม (Focus Group) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนี ความต้องการจำเป็น (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของภาวะผู้นำดิจิทัลของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์ของภาวะผู้นำดิจิทัลของครู โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด 2. โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา พบว่า ประกอบด้วย 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) เนื้อหา มี 4 Module ประกอบด้วย การบริหารทรัพยากรดิจิทัล การสอนบูรณาการดิจิทัล การประยุกต์ใช้ดิจิทัล และ การสื่อสารดิจิทัล ผลการประเมินโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectภาวะผู้นำดิจิทัลth
dc.subjectภาวะผู้นำดิจิทัลของครูth
dc.subjectการพัฒนาโปรแกรมth
dc.subjectDigital Leadershipen
dc.subjectTeacher Digital Leadershipen
dc.subjectProgarm Developmenten
dc.subject.classificationDecision Sciencesen
dc.titleThe Development Programe to Enhance Digital Leadership of Teachers in the Secondary Educational Service Area Office Nakhon Ratchasimaen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010581047.pdf9.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.