Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1715
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKeeratikan Songseeen
dc.contributorกีรติกานต์ สองสีth
dc.contributor.advisorPrasart Nuangchalermen
dc.contributor.advisorประสาท เนืองเฉลิมth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2022-09-19T10:38:24Z-
dc.date.available2022-09-19T10:38:24Z-
dc.date.issued9/8/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1715-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstract        This study aims to develop students to meet 70% of the Understanding of Nature of Science after learned through Using Local Science. Target group were 9 students of Prathomsuksa 6 students from Huanthawinwittaya school, Surin Primary Educational Service Area 3. The research tools were action plan of Local Science. Observational tools were 2 set of the Understanding of Nature of Science tests, the Understanding of Nature of Science questionnaire test and interview form of Local Science. Mean, standard deviation, and percentage were employed for data analysis. The findings pointed that first learning cycle, students had 62.96 % . The second learning cycle, students had 92.59 % of the Understanding of Nature of Science.en
dc.description.abstract        การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาพัฒนาความเข้าใจธรรมชาติวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิทยาศาสตร์ท้องถิ่น  ให้ได้คะแนนอย่างน้อยร้อยละ  70   กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนหวลถวิลวิทยา อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 9 คน เครื่องมือใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิทยาศาสตร์ท้องถิ่น จำนวน 2 แผนปฏิบัติการ เครื่องมือที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบความเข้าใจธรรมชาติวิทยาศาสตร์  ชนิดเขียนตอบ จำนวน 2 ชุด ชุดละ 3 ข้อ แบบวัดความเข้าใจธรรมชาติวิทยาศาสตร์ ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 12 ข้อ และ แบบสัมภาษณ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้วิทยาศาสตร์ท้องถิ่น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า วงจรปฏิบัติการที่ 1 นักเรียนมีคะแนนความเข้าใจธรรมชาติวิทยาศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 62.96 ความเข้าใจธรรมชาติวิทยาศาสตร์ของนักเรียนโดยรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.15 และวงจรปฏิบัติการที่ 2 มีนักเรียนมีคะแนนความเข้าใจธรรมชาติวิทยาศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 92.59 ความเข้าใจธรรมชาติวิทยาศาสตร์ของนักเรียนโดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.63 ตามลำดับ    th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิทยาศาสตร์ท้องถิ่นth
dc.subjectความเข้าใจธรรมชาติวิทยาศาสตร์th
dc.subjectLocal Scienceen
dc.subjectthe Understanding of Nature of Scienceen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Understanding the Nature of Science Using Local Science  for Prathomsuksa 6 studentsen
dc.titleการพัฒนาความเข้าใจธรรมชาติวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิทยาศาสตร์ท้องถิ่นth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010281101.pdf2.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.