Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1716
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPimporn Pinyoen
dc.contributorพิมพ์พร ภิญโญth
dc.contributor.advisorOrrasa In-noien
dc.contributor.advisorอรสา อินทร์น้อยth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2022-09-19T10:38:24Z-
dc.date.available2022-09-19T10:38:24Z-
dc.date.issued17/8/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1716-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis study aims to develop scientific problem-solving skills of prathomsuksa 5 students on substance changes using problems - based learning (PBL) in order that 70 percent of the students meet the criteria. The target group consisted of 21 students of Vithidham School of Sakon Nakhon Rajabhat University, Mueang District, Sakon Nakhon Province in the second semester of 2021. The research tools used in this study including 1) six learning management plans of total 12 hours using problem based learning model on topic of substance changes, for 2 action research cycles, 2) scientific problem-solving thinking skills test, 3) scientific problem-solving behavior observation, and 4) students’ interview question on PBL. Statistics used to analyze data included percentage, average, and standard deviation. The results showed that after first implementing cycle, 57.14% of students meet the criteria of scientific problem-solving skills and they had overall scientific problem-solving skills at score 2.22 or moderate level. After the second cycle, the number of students with scientific problem-solving skills increased to 90.48% and the overall scientific problem-solving skills, at score 2.68 or high level. Most students behave in problem-identification and problem-analysis skills. They are well able to identify the problems and causes. Sudents can define a variety of consistent solution and can described in detail with accurately and complete the problem-solving process.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่องการเปลี่ยนแปลงของสาร โดยใช้การจัดการเรียนรู้รูปแบบปัญหาเป็นฐาน (PBL) ให้มีนักเรียนร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายมีคะแนนทักษะการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวิถีธรรมแห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 21 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบปัญหาเป็นฐานเรื่องการเปลี่ยนแปลงของสาร สำหรับ 2 วงจรปฏิบัติการจำนวน 6 แผน (12 ชั่วโมง)  2) แบบวัดทักษะการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ 3) แบบสังเกตพฤติกรรมทักษะการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์และ 4) แบบสัมภาษณ์นักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า หลังจากวงจรปฏิบัติการที่ 1 นักเรียนมีคะแนนทักษะการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ผ่านตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 57.14 มีพฤติกรรมทักษะการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.22 อยู่ในเกณฑ์ระดับปานกลางและหลังวงจรปฏิบัติการที่ 2 นักเรียนมีคะแนนทักษะการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์เพิ่มเป็นร้อยละ 90.48 และมีพฤติกรรมทักษะการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.68 อยู่ในเกณฑ์ระดับมาก นักเรียนส่วนใหญ่มีพฤติกรรมทักษะด้านการระบุปัญหาและการวิเคราะห์ปัญหา สามารถบอกปัญหาและสาเหตุของปัญหาได้ดีนักเรียนสามารถกำหนดวิธีการแก้ปัญหาที่สอดคล้องได้หลากหลายทางเลือกและสามารถอธิบายบอกรายละเอียดได้ชัดเจน ถูกต้อง สมบูรณ์ตามขั้นตอนการคิดแก้ปัญหาth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้รูปแบบปัญหาเป็นฐานth
dc.subjectทักษะการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงของสารth
dc.subjectproblems - based learningen
dc.subjectscientific problem-solving skillsen
dc.subjectsubstance changesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Scientific Problem-Solving Skills of Prathomsuksa 5 Students on Substance Changes Using Problem - Based Learningen
dc.titleการพัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่องการเปลี่ยนแปลงของสารโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010281103.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.