Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1718
Title: | The Development Scientific Habits of Mind of Prathomsuksa 5 Students Through Community Based Learning การพัฒนาจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน |
Authors: | Ariya Phoopanna อาริยา ภูพันนา Prasart Nuangchalerm ประสาท เนืองเฉลิม Mahasarakham University. The Faculty of Science |
Keywords: | การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน จิตวิทยาศาสตร์ Scientific Habits of Mind Community Based Learning |
Issue Date: | 23 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | This study aims to develop students to meet 70% of scientific habits of mind after learned through community based learning. Target group were 12 students of Prathomsuksa 5 students from Bantun dunue school, Mahasarakham Primary Educational Service Area 3. The research tools were action plan of community based learning. Observational tools were 2 set of scientific habits of mind tests, scientific habits of mind questionnaire and interview form of community-based learning. Mean, standard deviation, and percentage were employed for data analysis. The findings pointed that first learning cycle, students had 82.92 % of full score in scientific habits of mind. The second learning cycle, students had 90.83 % of full score in scientific habits of mind. การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อเพื่อพัฒนาจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านทันดู่เหนือ อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3 ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 12 คน เครื่องมือใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนปฏิบัติการการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน จำนวน 2 แผนปฏิบัติการ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัดจิตวิทยาศาสตร์ ชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จำนวน 2 ชุด ชุดละ 20 ข้อ ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 30 ข้อ และแบบสัมภาษณ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า วงจรปฏิบัติการที่ 1 นักเรียนมีคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 82.92 จิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนโดยรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.15 และวงจรปฏิบัติการที่ 2 มีนักเรียนมีคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 90.83 จิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.54 ตามลำดับ |
Description: | Master of Education (M.Ed.) การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1718 |
Appears in Collections: | The Faculty of Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63010281106.pdf | 3.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.