Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1726
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorIntarak Ongarten
dc.contributorอินทรักษ์  องอาจth
dc.contributor.advisorJindaporn Jamradloedluken
dc.contributor.advisorจินดาพร จำรัสเลิศลักษณ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Engineeringen
dc.date.accessioned2022-10-26T13:29:40Z-
dc.date.available2022-10-26T13:29:40Z-
dc.date.issued23/6/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1726-
dc.descriptionMaster of Engineering (M.Eng.)en
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.)th
dc.description.abstractDue to energy crisis, Biodiesel is an alternative fuel produced from renewable resources. such as vegetable oil or animal fat no negative effect on environment and engine Biodiesel, which is one of the important renewable energy respectively. The this research, Studies on the percentage of methyl esters with a microwave reactor as a heat source Palm oil (ROL), potassium hydroxide (KOH) was used as a catalyst The mole ratio between methanol to oil and catalyst content is 6:1 by flowing through the microwave, the power is at (600 and 800 watts) Reaction time (1 minute and 2 minutes) Palm oil temperature (60°C and 80°C) Effects of methyl esters and properties of methyl esters The results show it was found that In two temperature ranges, 60°C and 80°C by using a power of 800 watts The yield percentage of methyl ester increased in the range 76.70-77.15 to 80.47-86.31. Increasing the power of the microwave by radiating heat at 800 watts. Will make the biodiesel flow react better than 600 watts. This is because the transesterification reaction is a heated reaction. Therefore, the longer the microwave radiation, the better the reaction time. The yield of methyl ester was increased and the properties of methyl ester were in line with the methyl ester biodiesel standard specified by the Department of Energy. The Ministry of Energy has seten
dc.description.abstractจากวิกฤตการณ์พลังงานที่เกิดขึ้นในประเทศไทย น้ำมันไบโอดีเซลเป็นทางน้ำมันเชื้อเพลิงทางเลือกเลือกที่ผลิตจากแหล่งทรัพยากรณ์หมุนเวียน เช่นน้ำมันจากพืช หรือไขมันจากสัตว์ ไม่มีผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและเครื่องยนต์ ไบโอดีเซลซึ่งเป็นหนึ่งในพลังงานทดแทนที่สำคัญตามลำดับ งานวิจัยนี้ได้นำเสนอการศึกษาผลได้ร้อยละของเมทิลเอสเอสเทอร์ โดยมีเตาปฏิกรณ์ไมโครเวฟเป็นแหล่งให้ความร้อนโดยใช้น้ำมันปาล์ม (ROL) โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา สัดส่วนโมลระหว่างเมทานอลต่อน้ำมันและปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาอยู่ที่ 6:1 โดยทำการไหลผ่านไมโครเวฟกำลังไฟฟ้าอยู่ที่ (600 และ 800 วัตต์) ระยะเวลาในการทำปฏิกิริยา (1 นาที และ 2 นาที) อุณหภูมิของน้ำมันปาล์ม (60 และ 80 องศาเซลเซียส) ที่สงผลได้ของเมทิลเอสเทอร์และสมบัติของเมทิลเอสเทอร์ จากผลการทดสอบพบว่า ในช่วงอุณหภูมิ 2 ระดับคือ 60 และ 80 องศาเซลเซียส โดยการใช้กำลังไฟฟ้า 800 วัตต์ ร้อยละผลได้ของเมทิลเอสเทอร์เพิ่มขึ้นอยู่ในช่วง 76.70-77.15 ถึง 80.47-86.31 การเพิ่มกำลังไฟฟ้าของไมโครเวฟโดยการแผ่รังสีความร้อนที่กำลัง 800 วัตต์ จะทำให้การไหลของน้ำมันไบโอดีเซลทำปฏิกิริยาได้ดีกว่า 600 วัตต์ เนี่องจากปฏิกิริยาทรานเอสเทอริฟิเคชันเป็นปฏิกิริยาที่ทำความร้อน ดังนั้นการแผ่รังสีไมโครเวฟที่ระยะเวลานานกว่าสงผลให้การทำปฏิกิริยาได้ดีกว่า ผลได้ของเมทิลเอสเทอร์เพิ่มขึ้นและคุณสมบัติของเมทิลเอสเทอร์สอดคล้องกับเกณฑ์มาตราฐานไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเทอร์ที่กรมธุระกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน กำหนดไว้th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectไบโอดีเซลth
dc.subjectเตาปฏิกรณ์ไมโครเวฟth
dc.subjectปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชั่นth
dc.subjectเมทิลเอสเทอร์th
dc.subjectชนิดไหลต่อเนื่องth
dc.subjectน้ำมันปาล์มth
dc.subjectBiodieselen
dc.subjectMicrowaveen
dc.subjectTransesterificationen
dc.subjectMethyl esteren
dc.subjectContinuous Flowen
dc.subjectPalm Oilen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.titleA Microwave Reactor for Continuous Flow Biodiesel Productionen
dc.titleเตาปฏิกรณ์ไมโครเวฟสำหรับการผลิตไบโอดีเซลแบบไหลต่อเนื่องth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Engineering

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010350002.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.