Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1730
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorOraphan Kiinthien
dc.contributorอรพรรณ  คิอินธิth
dc.contributor.advisorPaiboon Limmaneeen
dc.contributor.advisorไพบูลย์ ลิ้มมณีth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-10-26T13:46:09Z-
dc.date.available2022-10-26T13:46:09Z-
dc.date.issued31/10/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1730-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research is aimed 1) to study the elements and indicators teamwork of teachers for schools under The Secondary Educational Service Area Office 21 2) to study the priority needs teamwork of teachers for schools under The Secondary Educational Service Area Office 21 and 3) to develop guidelines teamwork of teachers for schools under The Secondary Education Service Area Office 21. The research was divided into 3 phrases; phase 1) evaluation for confirm elements and indicators of teamwork of teachers by 5 experts selected through the purposive sampling. The instruments used were evaluation form. Phase 2) the population sample groups were 327 teachers and school administrators under The Secondary Educational Service Area Office 21 selected through the stratified random sampling technique. The instruments for collected data were the questionnaires and phases 3) Guideline Development Teamwork of teacher for Schools under The Secondary Educational Service Area Office 21. The evaluation by 5 experts selected through the purposive sampling, the instruments were evaluation form on appropriateness and possibility. The statistics for analyses of data included the Index of consistency: IOC, mean, percentage, standard deviation, Pearson correlation coefficient, Cronbach's alpha coefficient, And the priority need of index PNI (Modified). The results of research revealed the following:                                                                                   1. The study elements and indicators of guideline development teamwork of teacher for schools under the secondary educational service area office 21 consist of 3 elements and 64 indicators, such as 1) Principles of teamwork consist of 36 indicators 2) Techniques of teamwork consist of 23 indicators 3) Teamwork processes consist of 5 indicators. The overall of 3 elements are the highest level and considered in each aspect found that each aspect is in highest level.                              2. The current condition of element principles of teamwork for schools overall are the high level. The desirable condition of principles teamwork for schools shows highest level.                                                                                                      3. Assessments of guideline development teamwork of teacher for schools under the secondary education service area office 21 found that a whole was appreciated at the high level. The guideline teamwork of teacher for schools can be summarized as follows. 1) Action Implementation 2) Evaluation of Results 3) Data Gathering and Analysis 4) Problem Awareness 5) Action Planning. The technic of teacher teamwork consist of 1) Sound procedures 2) Self-Assessment 3) Appropriate working structure 4) Group Cohesiveness 5) Clear objective and agree goals. The principles of teacher teamwork have 1) sound inter–group relation 2) Understand teammate 3) Appropriate leadership 4) The relationship of teachers is friendly and the atmosphere is democratic. 5) Regular review 6) Open discussion 7) Motivation worker 8) Action Implementation Planning.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการทำงานเป็นทีมของครูสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 21 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นการทำงานเป็นทีมของครูสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต 21 3) เพื่อพัฒนาแนวทางการทำงานเป็นทีมของครูสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 21 การวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ผู้ทรงคุณวุฒิ ประเมินองค์ประกอบและตัวชี้วัดการทำงานเป็นทีมของครู จำนวน 5 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบประเมิน ระยะที่ 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 จำนวน 327 คน ใช้เทคนิคการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม และระยะที่ 3 ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของแนวทางการทำงานเป็นทีมของครู จำนวน 5 คน ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบเพียร์สัน ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น PNI (Modifed) ผลการวิจัยพบว่า                              1.  องค์ประกอบและตัวชี้วัดการพัฒนาการทำงานเป็นทีมของครูสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 จากการศึกษาค้นคว้าเอกสาร ตำรา งานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ สังเคราะห์ได้ 3 องค์ประกอบ 64 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) หลักการในการทำงานเป็นทีม มี 36 ตัวชี้วัด 2) เทคนิควิธีการในการทำงานเป็นทีม มี 23 ตัวชี้วัด 3) กระบวนการการทำงานเป็นทีม มี 5 ตัวชี้วัดโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน                                                                                                    2. สภาพปัจจุบันขององค์ประกอบของหลักการในการทำงานเป็นทีมของครูสำหรับสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์ของหลักการในการทำงานเป็นทีมของครูสำหรับสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด                                         3. แนวทางการทำงานเป็นทีมของครูสำหรับสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 21 พบว่า โดยรวมและรายด้านมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด เช่นเดียวกัน แนวทางการทำงานเป็นทีมของครูสำหรับสถานศึกษา ประกอบด้วย 5 กระบวนการดังต่อไปนี้คือ 1) การดำเนินงานนำแผนไปปฏิบัติ 2) การประเมินผลลัพธ์จากการดำเนินงาน 3) การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล 4) การรับรู้ปัญหา 5) การวางแผนปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ซึ่งมีเทคนิควิธีการในการทำงานเป็นทีมของครูดังนี้ 1) ในการปฏิบัติงานแต่ละอย่างมีการกำหนดขั้นตอนการทำงานอย่างชัดเจน 2) การประเมินผลพัฒนาตนเอง 3) โครงสร้างของการปฏิบัติงานแต่ละฝ่ายในโรงเรียนมีความเหมาะสม 4) ร่วมประสานงานอันดีต่อกันภายในทีม 5) เข้าใจเป้าหมายของการทำงานเป็นทีมก่อนการปฏิบัติงาน โดยมีหลักการและแนวทางการดำเนินงานการทำงานเป็นทีมของครูดังนี้ 1) เข้าใจความสัมพันธ์และเคารพในหน้าที่ของแต่ละคน 2) เข้าใจเพื่อนร่วมทีม 3) ภาวะความเป็นผู้นำที่เหมาะสม 4) ความสัมพันธ์ระหว่างครูเป็นแบบกัลยาณมิตรมีบรรยากาศแบบประชาธิปไตย 5) ทบทวนการปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม 6) สมาชิกทีมงานมีการอภิปรายกันอย่างเปิดเผย 7) ให้แรงจูงใจกับผู้ปฏิบัติงาน และ 8) มีการวางแผนการดำเนินงานth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการทำงานเป็นทีมของครูth
dc.subjectการพัฒนาth
dc.subjectแนวทางth
dc.subjectTeamwork of teacheren
dc.subjectDevelopingen
dc.subjectGuidelineen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleGuideline Development Teamwork of teacher for Schools under The Secondary Educational Service Area Office 21en
dc.titleการพัฒนาแนวทางการทำงานเป็นทีมของครูสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 21th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58030580022.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.