Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1736
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhimphaka Kamarten
dc.contributorพิมพ์ผกา คำอาจth
dc.contributor.advisorOranuch Wara-Asawapati Srisa-Arden
dc.contributor.advisorอรนุช วราอัศวปติ ศรีสะอาดth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-10-26T13:46:13Z-
dc.date.available2022-10-26T13:46:13Z-
dc.date.issued24/6/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1736-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to develop learning activities based on Argument-Driven Inquiry with a required efficiency of 70/70 and 2) to compare student’s scientific argumentation ability with 70 percent criteria. The samples used in this study were 30 students of grade 12 in the 2nd semester of 2021 academic year at Nongkungsriwittayakarn School. The research instruments included 1) the lesson plans in topic of stoichiometry 2) the achievement test and 3) the scientific argumentation test. Statistics values used in this study consist of percentage, means, standard deviation and t-test (One samples t-test).        The results were as follows : 1) The learning activities based on Argument-Driven Inquiry had an efficiency (E1/E2) of 71.03/72.42 2) Students who have been learning by using learning activities based on Argument-Driven Inquiry having higher scientific argumentation ability than 70 percent at a statistically significant of .05 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้งที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้งกับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนหนองกุงศรีวิทยาคาร จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง พอลิเมอร์ 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 3) แบบทดสอบความสามารถในการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติ t-test (One samples t-test) ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยวิธีการโต้แย้ง มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 71.03/72.42  2) นักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง มีความสามารถในการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะth
dc.subjectกลวิธีการโต้แย้งth
dc.subjectความสามารถในการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectInquiry-based Learningen
dc.subjectArgument-Driven Inquiryen
dc.subjectScientific Argumentationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleImplementing Argument-Driven Inquiry Approach for Developing Grade 12 Students' Ability to Enhance Scientific Argumentation on The Topic of Polymeren
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้งที่ส่งเสริมความสามารถในการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง พอลิเมอร์  th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010556028.pdf2.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.