Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1737
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMenglan Luoen
dc.contributorMenglan Luoth
dc.contributor.advisorJiraporn Chanoen
dc.contributor.advisorจิระพร ชะโนth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-10-26T13:46:13Z-
dc.date.available2022-10-26T13:46:13Z-
dc.date.issued3/8/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1737-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research were : 1) to study the basic information for the development of instructional model to promote reading and writing skills in Chinese as a second language for Thai students at undergraduate level, including the related theories, concepts, principles and the factors affecting reading and writing Chinese as a second language, 2) to develop instructional model to promote reading and writing skills in Chinese as a second language for Thai students at undergraduate level, and 3) to study the effect of the instructional model, including the students' reading skill, the students' writing skill, and the students' attitude toward learning with the instructional model. The target group were 50 students from Chinese language major, faculty of humanities and social sciences, Mahasarakham university. This research was research and development (R&D). The research instruments were questionnaire, interview form for Chinese major students, interview form for Chinese language lectures, instructional model, Chinese reading skill test, Chinese writing skill assessment form, and the questionnaire used for asking students’ opinions toward learning with the instructional model. Content analysis, exploratory factor analysis, The mean and standard deviation were used to analyze the collected data. The results of this research were as follows: 1. Sociocultural theory was a trend in teaching and learning research based on second language perception theory for the development of second language skills, especially in reading and writing skills for students in university. In addition, monitor theory and contrastive analysis hypothesis were also important for the development of second language skills. 2. Factors affecting Chinese reading and writing skills for Chinese language students from universities in northeastern Thailand were 1) vocabulary, including the number of words and the use of vocabulary, 2) grammar, especially grammatical knowledge at the sentence level, 3) language environment, including learning from online resources and practicing Chinese in exchange, 4) attitude, including daily use of Chinese and social use of Chinese language, 5) motivation, including planning for future careers and applying for scholarships to study in China, 6) anxiety, including exam anxiety, communication concerns and concern for difficulties in learning. 3. The instructional model to promote reading and writing skills in Chinese as a second language for Thai students at undergraduate level (SPA Model) had the highest quality and appropriateness, which consists five components, including syntax and sequence, social system, principle of reaction, support system, and effect of instructional model. 4. The students' Chinese reading skill had developed and progressed after learning with the instructional model (SPA Model) that created by the researcher. 5. The students' Chinese writing skill had improved and progressed during learning with the instructional model (SPA Model) that created by the researcher.     6. The student's attitude for learning with the instructional model (SPA Model) that created by the researcher had an average of 4.09, which was at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีนในฐานะภาษาที่สอง รวมถึง 1.1) ศึกษาทฤษฎี แนวคิดและหลักการที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ภาษาที่สอง และ 1.2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีนในฐานะภาษาที่สอง 2) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีนในฐานะภาษาที่สอง และ 3) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีนในฐานะภาษาที่สอง รวมถึง 3.1) ศึกษาทักษะการอ่านภาษาจีนของผู้เรียน 3.2) ศึกษาทักษะการเขียนภาษาจีนของผู้เรียน และ 3.3) ศึกษาเจตคติของผู้เรียนสำหรับการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีนในฐานะภาษาที่สอง กลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาไทยระดับปริญญาตรี สาขาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 50 คน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development: R&D) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) แบบสอบถามปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีน สำหรับนักศึกษาสาขาภาษาจีน มหาวิทยาลัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 2) แบบสัมภาษณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีนสำหรับนักศึกษาสาขาภาษาจีน มหาวิทยาลัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 3) แบบสัมภาษณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีนสำหรับผู้สอนภาษาจีน มหาวิทยาลัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 4) รูปแบบการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีน สำหรับนักศึกษาไทยระดับปริญญาตรี 5) แบบทดสอบทักษะการอ่านภาษาจีน 6) แบบประเมินทักษะการเขียนภาษาจีน และ 7) แบบวัดเจตคติของผู้เรียนสำหรับการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีน สำหรับนักศึกษาไทยระดับปริญญาตรี วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสํารวจ (Exploratory Factor Analysis) และสถิติพื้นฐาน ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีสังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural Theory) เป็นแนวโน้มในการวิจัยทางการเรียนการสอนตามทฤษฎีการรับรู้ภาษาที่สองสำหรับการพัฒนาทักษะภาษาที่สอง โดยเฉพาะด้านทักษะการอ่านและการเขียนสำหรับนักศึกษา นอกจากนี้ ทฤษฎีกลไกทดสอบ (Monitor Theory) และสมมุติฐานการเปรียบต่าง (Contrastive Analysis Hypothesis) ก็มีความสำคัญสำหรับการพัฒนาทักษะภาษาที่สอง 2. ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีน สำหรับนักศึกษาสาขาภาษาจีน มหาวิทยาลัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ได้แก่ 1) คำศัพท์ รวมถึง จำนวนคำศัพท์และการนำคำศัพท์ไปใช้ 2) ไวยากรณ์ โดยเฉพาะความรู้ด้านไวยากรณ์ระดับประโยค 3) สภาพแวดล้อมทางภาษา รวมถึง การเรียนรู้จากแหล่งข้อมูลออนไลน์และการฝึกใช้ภาษาจีนในการแลกเปลี่ยน 4) เจตคติ รวมถึง การใช้ภาษาจีนในชีวิตประจำวันและการใช้ภาษาจีนในโซเชียล 5) แรงจูงใจ รวมถึง การวางแผนอาชีพในอนาคตและการขอทุนไปเรียนต่อที่ประเทศจีน และ 6) ความวิตกกังวล รวมถึง ความกังวลในการสอบ ความกังวลในการสื่อสาร และความกังวลสำหรับความยากลำบากและอุปสรรคในการเรียน 3. รูปแบบการเรียนการสอนทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีน (SPA Model) มีคุณภาพและความเหมาะสมมากที่สุด และประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ลำดับขั้นการจัดการเรียนการสอน (Syntax and Sequence) 2) ระบบสังคม (Social System) 3) หลักการของปฏิกิริยา (Principle of Reaction) 4) ระบบสนับสนุน (Support System) และ 5) ผลที่ได้รับของรูปแบบการเรียนการสอน (Effect of Instructional Model) 4. ทักษะการอ่านภาษาจีนของนักศึกษามีการพัฒนาและความก้าวหน้าหลังจากเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนการสอนทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีน (SPA Model) โดยภาพรวม 5. ทักษะการเขียนภาษาจีนของนักศึกษามีการพัฒนาและความก้าวหน้าระหว่างเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนการสอนทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีน (SPA Model) โดยภาพรวม 6. เจตคติของผู้เรียนสำหรับการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนการสอนทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีน (SPA Model) มีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.09 ซึ่งอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนth
dc.subjectทักษะการอ่านและการเขียนภาษาจีนth
dc.subjectนักศึกษาไทยระดับปริญญาตรีth
dc.subjectDevelopment of Instructionalen
dc.subjectModel Chinese Reading and Writing Skillsen
dc.subjectThai Students at Undergraduate Levelen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Instructional Model to Promote Reading and Writing Skills in Chinese as a Second Language for Thai Students at Undergraduate Levelen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านและการเขียน ภาษาจีนในฐานะภาษาที่สอง สำหรับนักศึกษาไทยระดับปริญญาตรีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010563001.pdf12.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.