Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1741
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJoonjula Tippimanpornen
dc.contributorจูนจุฬา ทิพย์พิมานพรth
dc.contributor.advisorKanyarat Cojornen
dc.contributor.advisorกัญญารัตน์ โคจรth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-10-26T13:46:14Z-
dc.date.available2022-10-26T13:46:14Z-
dc.date.issued21/7/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1741-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to compare scientific reasoning ability of Mathayomsuksa 5 students through Argument-Driven Inquiry (ADI) with 70 percent criteria and 2) to study attitude towards sciences on the topic of polymer of grade 11 through Argument-Driven Inquiry (ADI). The samples used in this study were 30 grade 11 students in chemistry classroom of the second semester, Kamalasai school. The cluster random sampling technique was used for select the sample. The research instruments included 1) the 9 lesson plans on the topic of polymer from the argument-driven inquiry learning method, 2)the 6 questions from the scientific reasoning test consist of  1) the short answer of the situation and  2) the scientific reasoning for explanation their answers, and 3)  the 20 questions from Likert Scale’s attitude toward sciences. Statistics used in this study consist of means, percentage, standard deviation and one sample t-test. The research finding were as following : 1) Mathayomsuksa 5 students who have been learning by teaching management through Argument-Driven Inquiry (ADI) on the topic of polymer having scientific reasoning ability higher than 70 percent criteria with the statistically significant of .05 level. 2) Mathayomsuksa 5 students who have been learning by teaching management through Argument-Driven Inquiry (ADI) on the topic of polymer having attitude towards sciences was high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง กับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 2) เพื่อศึกษาเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ เรื่อง พอลิเมอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/10 โรงเรียนกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 30 คน ที่ได้มาโดยวิธีสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง เรื่อง พอลิเมอร์ จำนวน 9 แผนการจัดการเรียนรู้  2 ) แบบวัดการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ จำนวน 6 ข้อ โดยรูปแบบของข้อสอบเป็นแบบเขียนตอบมี 2 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 ให้ตอบคําถามของสถานการณ์โดยตอบอย่างสั้น และตอนที่ 2 ให้อธิบายเหตุผลของคําตอบ 3) แบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน One sample t-test ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง เรื่อง พอลิเมอร์ มีความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05     2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้ง เรื่อง พอลิเมอร์ มีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ อยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้งth
dc.subjectScientific reasoning abilityen
dc.subjectArgument-Driven Inquiry (ADI)en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleArgument-Driven Inquiry Base on Learning Scientific Reasoning Ability and Attitude Towards Science for Mathayomsuksa 5 Studentsen
dc.titleการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะที่ขับเคลื่อนด้วยกลวิธีการโต้แย้งที่มีผลต่อความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010580010.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.