Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1745
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKansamida Sobhunnaen
dc.contributorกาญจน์สมิดา โสภัณนาth
dc.contributor.advisorThatchai Chittranunen
dc.contributor.advisorธัชชัย จิตรนันท์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-10-26T13:46:15Z-
dc.date.available2022-10-26T13:46:15Z-
dc.date.issued29/6/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1745-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study the current condition and desirable condition of Supplies and assets Management in Schools under the Secondary Educational Service Area Office Roi-ET 2) to develop the guidelines of Supplies and assets Management in Schools under the Secondary Educational Service Area Office Roi-ET. There were 2 phases of the study. The first phase was to study the current conditions, desirable conditions, and the needs of Supplies and assets Management in Schools under the Secondary Educational Service Area Office Roi-ET, The samples of research were consisted of School administrators, Teachers responsible for Supplies and assets Management in Schools under the Secondary Educational Service Area Office Roi-Et, defined the sample size using Krejcie and Morgan Table and Stratified Random Sampling. The sample group consisted of 332 people. The second phase was to develop guidelines of Supplies and assets Management in Schools under the Secondary Educational Service Area Office Roi-ET, The target group for the interview were 3 schools with the best practices. The data providers consisted of 3 School administrators, 3 teachers responsible for Supplies and assets Management, a total 6 peoples. By choose specific (Purposive Sampling), using purposive sampling method. The research instruments consisted of questionnaire, Interview form and guideline assessment form. The data were analyzed by mean (x̅), percentage (%) and standard deviation (S.D.). The findings revealed that; 1. The results of the study related to the current condition, desirable condition, and the needs of Supplies and assets Management in Schools under the Secondary Educational Service Area Office Roi-ET shown that overall elements was rated in more level, the current condition of Supplies and assets Management in Schools under the Secondary Educational Service Area Office Roi-ET was generally at the average total score, x̅ = 4.10, the desirable condition was generally at high total score, x̅ = 4.74 and the sorted by priority needs index (PNImodified) from most to least: material supplies distribution (PNImodified = 0.247) material  supplies control (PNImodified = 0.200) material supplies maintenance (PNImodified = 0.193) material supplies disbursement (PNImodified = 0.136) material supplies plan (PNImodified = 0.102) material supplies procurement (PNImodified = 0.085). 2. The guideline of Supplies and assets Management in Schools under the Secondary Educational Service Area Office Roi-ET including 6 parts 38 indicators 55 guidelines. The result of guidelines to Supplies and assets Management in Schools evaluation revealed that overall elements and each element of the guideline was appropriate and possible rated in the most level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด 2) พัฒนาแนวทางการบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด  การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้ปฏิบัติหน้าที่พัสดุ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด ซึ่งผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie และ Morgan แล้วทำการเทียบบัญญัติไตรยางศ์ ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวนทั้งสิ้น 332 คน จากนั้นใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด กลุ่มเป้าหมายในการสัมภาษณ์ คือ สถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) จำนวน 3 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 3 คน และครูผู้ปฏิบัติหน้าที่พัสดุ จำนวน 3 คน รวมทั้งสิ้น 6 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ร้อยละ (Percentage) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (S.D.)     ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาแต่ละองค์ประกอบแล้ว พบว่า มีการปฏิบัติและการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก มีค่า x̅ = 4.10  สภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่า x̅ = 4.74 และเรียงลำดับค่าความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย  ได้ดังนี้ การจำหน่ายพัสดุ (PNImodified = 0.247) การควบคุมพัสดุ (PNImodified = 0.200) การบำรุงรักษาพัสดุ (PNImodified = 0.193) การเบิกจ่ายพัสดุ (PNImodified = 0.136) การวางแผนงานพัสดุ (PNImodified = 0.102) และการจัดหาพัสดุ (PNImodified = 0.085) 2. แนวทางการบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ 38 ตัวบ่งชี้ และ 55 แนวทาง ผลการประเมินแนวทางการบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์ในสถานศึกษา พบว่า โดยรวมแต่ละองค์ประกอบของแนวทางมีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectแนวทางth
dc.subjectการบริหารงานth
dc.subjectพัสดุและสินทรัพย์th
dc.subjectGuidelinesen
dc.subjectManagementen
dc.subjectSupplies and Assetsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development Guidelines of Supplies and Assets Management in Schools under the Secondary Educational Service Area Office Roi-ETen
dc.titleการพัฒนาแนวทางการบริหารงานพัสดุและสินทรัพย์ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ดth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010581006.pdf7.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.