Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1751
Title: Development of Guidelines Team Work for Teacher in Education Institutions Mahasarakham Primary Educational Service Area District 1
การพัฒนาแนวทางการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 1
Authors: Premchai Payasin
เปรมชัย ปิยะศิลป์
Thatchai Chittranun
ธัชชัย จิตรนันท์
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: การทำงานเป็นทีม
แนวทางการทำงานเป็นทีม
Team Work
Teamwork Guideline
Issue Date:  20
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This aims of this research were to 1) the current situation, desirable situation and the needs and necessity of teachers’ teamwork; 2) develop the teamwork guideline in the Office of Mahasarakham Primary Educational Service Area 1. Phase 1 was studied the current situation, desirable situation and the needs and necessity of teachers’ teamwork, and Phase 2 was developed the teamwork guideline in the Office of Mahasarakham Primary Educational Service Area 1. Mean (x̅), Percentage, and Correlation coefficient and required indices were used for data analysis in the research. The research found that; 1. The results of current situation, desirable situation of teachers’ teamwork in the Office of Mahasarakham Primary Educational Service Area found the overall of current situation of teachers’ teamwork is in good level. It considered from the first 3 frequency as Trustiness (x̅ = 4.45), Responsible assigning (x̅ = 4.40), Creative communication and Good outer relationship (x̅ = 4.38), and Goal setting (x̅ = 4.38). The overall of desirable situation of teachers’ teamwork is in very good level. It considered from the first 3 average as Responsible assigning (x̅ = 4.66), Creative communication and Good outer relationship (x̅ = 4.66), and Trustiness (x̅ = 4.64). 2. The result of teamwork guideline development in the Office of Mahasarakham Primary Educational Service Area consists of 7 elements and 21 approaches. 1) Goal setting 3 approaches 2) Cooperation and participation 3 approaches 3) Role of an appropriate leader or follower 3 approach 4) Creative communication and good external relationship 3 Guidelines 5) Creating a good atmosphere within the team 3 approaches 6) Duties and responsibilities 3 approaches 7) Trust 3 approaches. The results of the assessment of the development of teamwork guidelines of teachers in schools under the Office of Primary Educational Service Area, Mahasarakham District 1, from the experts found that The mean values were 4.41 and 4.34, respectively, with a high level of appropriateness and feasibility. and when considering each aspect, it was found that the suitability There was the appropriateness at the most on 1 aspect and at most 6 aspects. Every aspect has a high level of possibilities in every aspect.
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพพึงประสงค์ ความต้องการจำเป็นของการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ประกอบด้วย ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพพึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการพัฒนาแนวทางการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 พบว่า ระดับการปฏิบัติเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันการทำงานเป็นทีม โดยรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกข้อ เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยสามลำดับแรก คือ ความไว้วางใจ (x̅ = 4.45) กำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ (x̅ = 4.40) การสื่อสารเชิงสร้างสรรค์และสัมพันธภาพที่ดีภายนอก (x̅ = 4.38) และการกำหนดเป้าหมาย (x̅ = 4.38) ระดับสภาพที่พึงประสงค์การทำงานเป็นทีม โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 7 ด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยสามลำดับแรก คือ กำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ (x̅ = 4.66) การสื่อสารเชิงสร้างสรรค์และสัมพันธภาพที่ดี (x̅ = 4.66) และความไว้วางใจ (x̅ = 4.64) 2. ผลการพัฒนาแนวทางการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 1 ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ 21 แนวทาง 1) ด้านการกำหนดเป้าหมาย 3 แนวทาง 2) ด้านการให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วม 3 แนวทาง 3) ด้านการแสดงบทบาทผู้นำหรือผู้ตามที่เหมาะสม 3 แนวทาง 4) ด้านการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์และสัมพันธภาพที่ดีภายนอก 3 แนวทาง 5) ด้านการสร้างบรรยากาศที่ดีภายในทีม 3 แนวทาง 6) ด้านการกำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ 3 แนวทาง 7) ด้านความไว้วางใจ 3 แนวทาง ผลการประเมินการพัฒนาแนวทางการทำงานเป็นทีมของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 จากผู้ทรงคุณวุฒิพบว่า มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.41 และ 4.34 ตามลำดับโดยรวมมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านความเหมาะสม มีความเหมาะสมอยู่ที่มากที่สุด 1 ด้าน และมาก 6 ด้าน ส่วนด้านความเป็นไปได้ ทุกด้านมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากทุกด้าน
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1751
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010581034.pdf5.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.