Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1754
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhilaiwan Matlerngen
dc.contributorพิไลวรรณ มาตเลิงth
dc.contributor.advisorThatchai Chittranunen
dc.contributor.advisorธัชชัย จิตรนันท์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-10-26T13:46:18Z-
dc.date.available2022-10-26T13:46:18Z-
dc.date.issued23/6/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1754-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of the study are the followings; 1) to study the factors and indicators of teacher’s competency on curriculum management and learning management 2) to study the current status, the expectation, and the essential needs for promote teacher’s competency on curriculum management and learning management 3) to develop program for promote teacher’s competency on curriculum management and learning management. Research methodology uses mixed method research. Operated in three phases. Phase 1 The study of the factors and indicators of teacher’s competency on curriculum management and learning management. Phase 2 The study of the current status the expectation, and the needs for promote teacher’s competency on curriculum management and learning management. The samples are 205 school teachers under the office of vocational education in mahasarakham province, in academic year 2021 acquired by Stratified Random Sampling. Phase 3 The development of program for teachers competency on curriculum management and learning management in the school. The informants in this study are two group of experts including in-depth interviews experts and program assessment experts. The research tools were 1) the suitable assessment of the factors and indicators. 2) current status questionnaire and expectation of teacher’s competency on curriculum management and learning management 3) interview form and 4) evaluation form of program for promote teacher’s competency on curriculum management. Statistics used in data analysis are mean, standard deviation and Modified Priority Need Index. The research results are as follows: 1. The factors and indicators of teacher’s competency on curriculum management and learning management in the school found that consists of 5 components include : 1) curriculum creation and development of vocational, 2) practice-based learning design, 3) child-centered learning management, 4) development and application of innovative media technology for learning management that corresponds to the skills required in the profession, and 5) measurement and evaluation of learning. All of them were suitable at the highest levels. 2. The current status of teacher’s competency on curriculum management and learning management in the school found that were at a high level in all aspects. The expectation of teacher’s competency on curriculum management and learning management in the school found that were at a highest level in all aspects. The study of the needs for promote teacher’s competency on curriculum management and learning management in the school found that the most. needs aspect is the development and application of innovative media technology for learning management that corresponds to the skills required in the profession, curriculum creation and development of vocational, practice-based learning design, measurement and evaluation of learning and child-centered learning management respectively. 3. The development of program for teacher’s competency on curriculum management and learning management in the school. The results of the assessment of program found that as a whole is propriety at the highest level and there feasibility level is the highest.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดของสมรรถนะครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นในการเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 3) เพื่อพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ระเบียบวิธีวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี โดยแบ่งเป็น 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัด ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นในการเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้าราชการครู สังกัดสำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดมหาสารคาม ปีการศึกษา 2564 จำนวน 205 คน ซึ่งใช้เทคนิคการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ ระยะที่ 3 การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวชี้วัด 2) แบบสอบถามสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์สมรรถนะครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ 3) แบบสัมภาษณ์เชิงลึก และ 4) แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และดัชนีความต้องการจำเป็นแบบปรับปรุง (PNImodified) ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบและตัวชี้วัดสมรรถนะครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านการสร้างและพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา 2) ด้านการออกแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติ 3) ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 4) ด้านการใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับทักษะที่จำเป็นในการประกอบอาชีพและ 5) ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง ซึ่งทุกองค์ประกอบมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด 2. สภาพปัจจุบันของสมรรถนะครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้โดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนสภาพที่พึ่งประสงค์ของสมรรถนะครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และการศึกษาความต้องการจำเป็นในการเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ พบว่า ด้านที่มีความต้องการจำเป็นที่สุด คือ ด้านการใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับทักษะที่จำเป็นในการประกอบอาชีพ รองลงมาคือ ด้านการสร้างและพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา ด้านการออกแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามลำดับ 3. การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ผลการประเมินโปรแกรม พบว่า มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectสมรรถนะครูth
dc.subjectการบริหารหลักสูตรth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectTeacher’s Competencyen
dc.subjectCurriculum Managementen
dc.subjectLearning Managementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Program to Enhance Teachers Competency on Curriculum Management and Learning Management in the School under the Office of Vocational Education in Mahasarakham Provinceen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านการบริหารหลักสูตร และการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานอาชีวศึกษา จังหวัดมหาสารคามth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010581040.pdf9.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.