Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1764
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPiyaphat Thiangtrongen
dc.contributorปิยาพัชร เที่ยงตรงth
dc.contributor.advisorJiraporn Chanoen
dc.contributor.advisorจิระพร ชะโนth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2022-10-26T13:46:20Z-
dc.date.available2022-10-26T13:46:20Z-
dc.date.issued13/8/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1764-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to To find the effectiveness of learning management according to the Akita approach of grade 3 students with efficiency according to the 75/75 criteria. To study the index of effectiveness of learning management according to the Akita approach. To study the learning durability of students who have been organized learning according to the Akita Guidelines. And to study the students' satisfaction with learning management according to the Akita guidelines. The sample group used in this research was 34 students in Prathom Suksa 3 of Mahasarakham University Demonstration School (Primary Department), the second semester of the academic year 2021, totaling 34 students from 1 classroom, obtained by Cluster Random Sampling. There were 3 types of research instruments: 10 learning management plans according to the Akita Guidelines, a learning achievement test. Grade 3, 4 choice, 20 items, with difficulty (P) ranging from 0.40-0.77 and discriminating power (B) ranging from 0.29-0.87. Akita approach There were 10 items of 5-level estimation scale type, with the power to distinguish each item (rxy) from 0.48 – 0.67. The statistics used in the data analysis were percentage, mean, standard deviation and t-test (Dependent Samples) The results of the research appeared as follows: 1. Learning management plan according to the Akita approach of Grade 3 students' efficiency (E1/E2) was 86.46/85.29 which was higher than the specified criteria. 2. The index of effectiveness of the learning management plan according to the Akita approach on multiplication and division. of grade 3 students was equal to 0.6835 or 68.35 percent. 3. Grade 3 students who study using Akita-based learning management. Multiplication and division There is a score of the post-test And after 2 weeks of studying, no difference. Demonstrates persistence in learning. 4. Grade 3 students who study with Akita-based learning management. Multiplication and division they were satisfied with the overall and each item at the highest level. (x̅ = 4.65-4.88).      en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อหาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางอคิตะ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 75/75 เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางอคิตะ เพื่อศึกษาความความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางอคิตะ และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางอคิตะ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายประถม) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 34 คน จาก 1 ห้องเรียน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ชนิด ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางอคิตะ จำนวน 10 แผน ทำการสอนแผนละ 50 นาที แบบทดสอบวัดผลสมฤทธิ์ทางการเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ มีค่าความยากง่าย (P) ตั้งแต่ 0.40-0.77 และค่าอำนาจจำแนก (B) ตั้งแต่ 0.29-0.87 แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางอคิตะ ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 10 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (rxy) ตั้งแต่ 0.48 – 0.67 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทำการทดสอบสมมติฐานด้วย t-test (Dependent Samples) ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางอคิตะ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3  มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 86.46/85.29 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 2. ค่าดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการนเรียนรู้ตามแนวทางอคิตะ เรื่อง การคูณและการหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีค่า เท่ากับ 0.6835 หรือคิดเป็นร้อยละ 68.35 3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยใช้จัดการเรียนรู้ตามแนวทางอคิตะ เรื่องการคูณและการหาร มีคะแนนของการทดสอบหลังเรียน และหลังเรียนผ่านไปแล้ว 2 สัปดาห์ ไม่แตกต่างกัน แสดงว่ามีความคงทนในการเรียนรู้ 4. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางอคิตะ เรื่องการคูณและการหาร มีความพึงพอใจโดยรวมและรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.65-4.88)th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางอคิตะth
dc.subjectการคูณ และการหารth
dc.subjectAkita-based learningen
dc.subjectlearning managementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleLearning Management Based on Akita on Multiplication and Division for Grad 3en
dc.titleการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางอคิตะ เรื่อง การคูณและการหาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010582017.pdf3.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.