Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1796
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorYupadee Treechalaen
dc.contributorยุพดี ตรีชาลาth
dc.contributor.advisorSumattana Glangkarnen
dc.contributor.advisorสุมัทนา กลางคารth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2022-10-26T14:29:00Z-
dc.date.available2022-10-26T14:29:00Z-
dc.date.issued19/6/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1796-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis survey research was aimed to study the capability of preventing and controlling the Corona virus in the health village volunteers (VHVs). The 400 VHVs were selected by stratified random sampling. Quantitative data was collected by questionnaires and was analyzed by descriptive and analytical statistics. Qualitative data was collected by in-depth interviews and was analyzed by content analysis. The results showed that the knowledge scores about COVID-19 of the VHVs were at the medium level 61.25%, at the high level 38.5% and at the low level 0.25%. The preventive skills mostly were at the high level 99.25%. The comparison of preventing behaviors found the difference of knowledge statistically significant in married status (t = 2.066, P = 0.040) and working experiences (t = 2.273, P = 0.024) Moreover, the different experiences of the VHVs found the difference in the social roles statistically significant (t = 2.901, P = 0.001).en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สมรรถนะด้านการป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนาของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)  กลุ่มตัวอย่างคือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดมหาสารคาม  400 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถาม และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบ t-test และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา  ผลการศึกษาพบว่า ความรู้เรื่องโรค COVID-19 ของ อสม. มีความรู้ระดับปานกลางมากที่สุด ร้อยละ 61.25 รองลงมา ระดับสูง ร้อยละ 38.50 และระดับต่ำ ร้อยละ 0.25  ส่วนระดับทักษะในการป้องโรค COVID-19 ของ อสม. พบว่า เกือบทั้งหมดมีทักษะในระดับสูง ร้อยละ 99.25 และผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันตนเองของ อสม. ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ที่มีสถานภาพสมรสต่างกัน จะมีความรู้เรื่องโรค COVID-19 แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 2.066, P = 0.040) และ อสม.ที่มีประสบการณ์ในการทำงานต่างกัน จะมีความรู้เรื่องโรค COVID-19 แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = -2.273, P = 0.024) ในขณะที่ อสม.ที่มีประสบการณ์ในการทำงานต่างกัน จะมีบทบาททางสังคมของ อสม. ในการป้องกันโรคและควบคุมโรคโควิด 19 แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 2.901, P = 0.001)        th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectสมรรถนะth
dc.subjectการป้องกันth
dc.subjectควบคุมโรคth
dc.subjectไวรัสโคโรนาth
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านth
dc.subjectCompetenceen
dc.subjectProtectingen
dc.subjectControllingen
dc.subjectCorona Virusen
dc.subjectVillage Health Volunteersen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleThe Competency of Protecting and Controlling of Corona Virus 2019 (Covid-19) by the Village Health Volunteersen
dc.titleสมรรถนะการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Public Health

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62011480015.pdf3.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.