Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1808
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorYupadon Punatungen
dc.contributorยุภดล ปุณตุงth
dc.contributor.advisorJurairat kurukodten
dc.contributor.advisorจุไรรัตน์ คุรุโคตรth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Environment and Resource Studiesen
dc.date.accessioned2022-10-26T14:35:58Z-
dc.date.available2022-10-26T14:35:58Z-
dc.date.issued16/3/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1808-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims To develop a green school training manual for high school students Pracharat Wittaya Serm School with efficiency criteria according to 80/80 criteria and study the effectiveness index of the training manual Study and compare knowledge, attitudes and participation. before and after training The sample group used in this research was 54 students in Pracharat Wittaya Supplementary School for the first semester of the academic year 2021. They were obtained by simple random sampling. The research tools consisted of the Green School Training Manual. for high school students Pracharat Wittaya Serm School knowledge test attitude scale The measure of participation in environmental stewardship in schools The statistics used in the data analysis were Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation and Paired t-test. It was as effective as 80.45/82.60 for studying the effectiveness of the Green School Training Manual. An Effectiveness Index (E.I.) was 0.5840, indicating that students had a 58.40 percent progression in knowledge. Attitudes and participation in caring for the school environment after training higher than before training statistically significant at the .05 levelen
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาคู่มือการฝึกอบรมโรงเรียนสีเขียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนประชารัฐวิทยาเสริม ที่มีเกณฑ์ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และศึกษาดัชนีประสิทธิผลของคู่มือการฝึกอบรม ศึกษาและเปรียบเทียบ ความรู้  ทัศนคติและการมีส่วนร่วม ก่อนและหลังการฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4 โรงเรียนประชารัฐวิทยาเสริม จำนวน 54 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย คู่มือการฝึกอบรมโรงเรียนสีเขียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนประชารัฐวิทยาเสริม แบบทดสอบวัดความรู้ แบบวัดทัศนคติ แบบวัดการมีส่วนร่วมต่อการดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ Paired t-test จากการศึกษา พบว่า คู่มือการฝึกอบรมโรงเรียนสีเขียว มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.45/82.60 สำหรับการศึกษาประสิทธิผลของคู่มือการฝึกอบรมโรงเรียนสีเขียว มีค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) เท่ากับ 0.5840 แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีความก้าวหน้าในการมีความรู้ร้อยละ 58.40 นักเรียนที่เข้ารับการฝึกอบรมมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ ทัศนคติและการมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน หลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการอบรมth
dc.subjectการมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนth
dc.subjectความรู้th
dc.subjectทัศนคติth
dc.subjectคู่มือการฝึกอบรมโรงเรียนสีเขียวth
dc.subjectTrainingen
dc.subjectParticipation in caring for the school environmenten
dc.subjectKnowledgeen
dc.subjectAttitudeen
dc.subjectGreen School Training Manualen
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.titleDeveloping a Green School Training Manual for high school students Pracharat Wittaya Serm Schoolen
dc.titleการพัฒนาคู่มือการฝึกอบรมโรงเรียนสีเขียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนประชารัฐวิทยาเสริมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Environment and Resource Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63011751001.pdf4.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.