Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1843
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKewalee Mahaen
dc.contributorเกวลี มาหาth
dc.contributor.advisorSongsak Phusee - ornen
dc.contributor.advisorทรงศักดิ์ ภูสีอ่อนth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-20T11:20:15Z-
dc.date.available2023-01-20T11:20:15Z-
dc.date.issued7/12/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1843-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to compare problem solving abilities and mathematical creativity of Mathayomsuksa 4 students on probability. After receiving learning management using an open method and creative problem-solving process with 70% criteria and 2) to compare problem-solving abilities and mathematical creativity of secondary school students. 4 probabilities Before and after learning was organized using an open approach combined with a creative problem-solving process. The sample consisted of students in the second semester of the 2021 academic year at a school in Kalasin province. obtained from Cluster Random Sampling, 1 classroom, 35 students. The tools used in this research were: The learning management plan using an open method in combination with the creative thinking process on probability. Problem Solving Ability and Mathematical Creativity Scale The stats used in the data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test for one sample and t-test for dependent samples. The results were as follows:      1. Mathayomsuksa 4 students, after being taught mathematics by using an open method together with a creative problem-solving process, had the ability to solve problems and creativity in mathematics with more than 70%. Statistical significance at the .05 level      2. Mathayomsuksa 4 students, after being taught mathematics by using an open method together with creative problem-solving processes, have higher math problem solving and creativity. statistically significant at the .05 levelen
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องความน่าจะเป็น หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์กับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการการแก้โจทย์ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องความน่าจะเป็น ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัดกาฬสินธุ์ ที่ได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยการใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับกระบวนการคิดเชิงสร้างสรรค์ เรื่อง ความน่าจะเป็น แบบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาและแบบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์  สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบที t-test for one sample และการทดสอบค่าสถิต t-test for dependent samples          ผลการการวิจัยพบว่า  1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์สูงกว่าร้อยละ 70  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์มีความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์สูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์th
dc.subjectความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectLearning management using an open approach combined with a creative problem-solving processen
dc.subjectThe ability to solve math problemsen
dc.subjectMathematics creativityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleOutcomes of Learning Management Using Open Approach Together with Creative Problem Solving Processes Affecting Problem Solving and Mathematical Creativity of Matthayomsuksa 4 Studentsen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิด (Open Approach) ร่วมกับกระบวนการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ที่มีผลต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010558002.pdf3.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.