Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1848
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorYada Yuanphanen
dc.contributorญาดา ยวนพันธ์th
dc.contributor.advisorPrasart Nuangchalermen
dc.contributor.advisorประสาท เนืองเฉลิมth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-20T11:20:16Z-
dc.date.available2023-01-20T11:20:16Z-
dc.date.issued25/11/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1848-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis study aimed to develop 10th grade's mental models in solutions to get a higher level of mental models by using Model-Centered Instruction Sequence. The study group consisted of 33 students in grade 10 attending in the second semester of academic year 2021 at Mahasarakham University Demonstration School (Secondary). The instruments used in this research were : 1) 6 lesson plans of solution by using Model-Centered Instruction Sequence 2) mental model test 3) student journal and 4) teacher's note. The statistics that used for analyzing data were percentage, mean, and standard deviation. The result shows that most of students have Correct Mental Models (CMM) of Scientific Models increasing by using Model-Centered Instruction Sequence. The percentages of CMM of dilute solution preparation, boiling point of solutions, and freezing point of solutions by 45.45, 51.51, and 48.48, respectively. The percentages of Complete Flawed Mental Models (CFMM), Flawed Mental Models (FMM), Incoherent Mental Models (IMM), and No respond (NR) are found to be decreasing.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาแบบจำลองทางความคิด เรื่องสารละลายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้อยู่ในระดับแบบจำลองทางความคิดที่สูงขึ้นโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Model-Centered Instruction Sequence กลุ่มที่ศึกษาในงานวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ชนิดได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง สารละลาย โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Model-Centered Instruction Sequence จำนวน 6 แผน แบบวัดแบบจำลองทางความคิด อนุทินสะท้อนความคิดของนักเรียน และแบบบันทึกหลังการสอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีแบบจำลองทางความคิดที่ถูกต้อง (CMM) เพิ่มขึ้นที่สอดคล้องกับแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์เมื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Model-Centered Instruction Sequence โดยเฉพาะในแนวคิดย่อยเรื่องการเตรียมสารละลายเจือจางจากสารละลายเข้มข้น (ร้อยละ 45.45) สมบัติเกี่ยวกับจุดเดือดของสารละลาย (ร้อยละ 51.51) และสมบัติเกี่ยวกับจุดเยือกแข็งของสารละลาย (ร้อยละ 48.48) และมีแบบจำลองทางความคิดอยู่ในกลุ่มแบบจำลองทางความคิดที่สมบูรณ์แต่ไม่ถูกต้อง (CFMM) แบบจำลองทางความคิดไม่ถูกต้อง (FMM) แบบจำลองทางความคิดไม่เชื่อมโยง (IMM) และไม่แสดงแบบจำลองทางความคิด (NR) ลดลงth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectสารละลายth
dc.subjectแบบจำลองทางความคิดth
dc.subjectการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ Model-Centered Instruction Sequenceth
dc.subjectmental modelsen
dc.subjectsolutionsen
dc.subjectModel-Centered Instruction Sequenceen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of 10th Grade’s Mental Models in Solutions by using Model-Centered Instruction Sequence (MCIS)en
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองทางความคิด เรื่อง สารละลาย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ Model-Centered Instruction Sequence (MCIS)th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010558024.pdf9.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.