Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/184
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChalard Saisinen
dc.contributorฉลาด สายสินธุ์th
dc.contributor.advisorMaliwan Tunapanen
dc.contributor.advisorมะลิวัลย์ ถุนาพรรณ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Scienceen
dc.date.accessioned2019-10-02T02:31:10Z-
dc.date.available2019-10-02T02:31:10Z-
dc.date.issued31/10/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/184-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this study were to 1) develop learning activities by using  GeoGebra and normal learning activities with required efficiency 75/75, 2) study effective index of learning activities by using GeoGebra and normal learning activities, 3) compare learning achievement scores between 2 groups of students, first group  learned with activities by using GeoGebra and second group learned with normal activities 4) study learning retention of students who learned with activities by using GeoGebra and 5) study students' satisfaction to learning activities by using GeoGebra. The instruments used in this study to gather datum were as follows: 1) 18 plans of learning activities by using GeoGebra that passed evaluating score criteria (raged from 4.17 - 4.95), 2) 18 plans of normal learning activities that passed evaluating score criteria (raged from 4.70 - 4.85), 3) a 4 - multiple choice achievement test consisted of 30 items with item IOC values ranged from 0.67 – 1.00, item difficulty values ranged from 0.54 – 0.76, item discriminant values ranged from 0.22 – 0.61 and 85.81% of test reliability calculated by Kuder – Richardson way, 4) a questionnaire consisted of 20 questions with item IOC values ranged from 0.60 – 1.00, item discriminant values (rxy) ranged from 0.22 – 0.68 and 76.39% of questionnaire reliability calculated by alpha coefficient of Cronbach way. The samples in this study were chosen by cluster random sampling way were 2 groups, experimental group consisted of 43 students form class 5/3 and control group consisted of 40 students from class 5/4 on second semester of academic year 2017. The results of this study were as follows: 1) the efficiency value of learning activities using GeoGebra was 88.28/78.84 and the efficiency value of normal learning activities was 86.40/75.25 respectively that passed the defined efficiency criteria 75/75, 2) the effective index values of learning activities using GeoGebra and normal learning activities were 0.6408 and 0.5805 respectively. It showed that students from experimental group and control group progressed in their leaning at 64.08% and at 58.05% respectively, 3) the achievement score of experimental group was higher than control group statistically significant at the .05 level, 4) the student posttest scores and posttest scores 2 weeks later were not different statistically significant at the .05 level and 5) the students' satisfaction to learning activities by using GeoGebra was very satisfied as a part and as a whole.en
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีความมุ่งหมายดังนี้ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมจีโอจีบราและกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ เรื่อง ลำดับและอนุกรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75  2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมจีโอจีบราและกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ เรื่อง ลำดับและอนุกรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมจีโอจีบราและกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ 4) เพื่อศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมจีโอจีบรา และ 5) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมจีโอจีบรา เรื่อง ลำดับและอนุกรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้ามีดังนี้ 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมจีโอจีบรา เรื่อง ลำดับและอนุกรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 18 แผน ที่มีค่าเฉลี่ยจากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญตั้งแต่ 4.17 – 4.95  ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมิน 2) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ เรื่อง ลำดับและอนุกรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 18 แผน ที่มีค่าเฉลี่ยจากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญตั้งแต่ 4.70 – 4.85 ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมิน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ลำดับและอนุกรม ซึ่งเป็นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ ที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามและจุดประสงค์ (IOC) ตั้งแต่ 0.67 – 1.00 มีค่าความยากรายข้อ (p) ตั้งแต่ 0.54 – 0.76 มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (B) ตั้งแต่ 0.22 – 0.61 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับคำนวณตามวิธีของคูเดอร์ – ริชาร์ดสัน เท่ากับ 0.8581 และ 4) แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมจีโอจีบรา เรื่อง ลำดับและอนุกรม มีข้อคำถาม 20 ข้อ มีค่าดัชนีวามสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับจุดประสงค์ (IOC) ตั้งแต่ 0.60 – 1.00 มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (rxy) ตั้งแต่ 0.22 – 0.68 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดความพึงพอใจทั้งฉบับเท่ากับ 0.7639 คำนวณโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์อัลฟ่าตามวิธีของครอนบาค ประชากรได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนบัวขาว ปีการศึกษา 2560 จำนวน 8 ห้องเรียน มีนักเรียนทั้งหมด 336 คน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม ประกอบด้วย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 โรงเรียนบัวขาว ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 43 คน เป็นกลุ่มทดลอง และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนบัวขาว ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 40 คน เป็นกลุ่มควบคุม ผลการศึกษาพบว่า 1) กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมจีโอจีบราและกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ เรื่อง ลำดับและอนุกรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 88.28/78.84 และ 86.40/75.25 ตาม ลำดับ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 75/75 ที่กำหนดไว้ 2) ดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมจีโอจีบราเท่ากับ 0.6408 แสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นหรือมีความก้าวหน้าในการเรียนคิดเป็นร้อยละ 64.08 และ ดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติเท่ากับ 0.5805 แสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นหรือ มีความก้าวหน้าในการเรียนคิดเป็นร้อยละ 58.05 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมจีโอจีบราสูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 4) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมจีโอจีบราหลังเรียนและหลังเรียน 2 สัปดาห์ ไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 หรือ นักเรียนกลุ่มดังกล่าวมีความคงทนในการเรียนรู้ 5) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรมจีโอจีบรา เรื่อง ลำดับและอนุกรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 รายด้านและรวมทุกด้านอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectลำดับและอนุกรมth
dc.subjectโปรแกรมจีโอจีบราth
dc.subjectดัชนีประสิทธิผลth
dc.subjectความพึงพอใจth
dc.subjectSequence and Seriesen
dc.subjectGeoGebraen
dc.subjectEffective indexen
dc.subjectSatisfactionen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleDevelopment of mathematics learning activities by using GeoGebra program on topic sequences and series for Mathayomsuksa 5 studentsen
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรมจีโอจีบราเรื่อง ลำดับและอนุกรม  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010283001.pdf4.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.