Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1853
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTeerapat Worrakhamen
dc.contributorธีรภัทร์ วรคำth
dc.contributor.advisorPacharawit Chansirisiraen
dc.contributor.advisorพชรวิทย์ จันทร์ศิริสิรth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-20T11:20:17Z-
dc.date.available2023-01-20T11:20:17Z-
dc.date.issued4/10/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1853-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to 1) study the current situation. desirable condition and the necessity of course administration and learning management of teachers under Maha Sarakham Primary Educational Service Area Office 1 2) Develop guidelines for curriculum management and learning management using digital literacy. of teachers under Maha Sarakham Primary Educational Service Area Office 1. The sample group used in this research was 300 teachers in Maha Sarakham Primary Educational Service Area Office 1, which were obtained by means of determining the sample size by comparing the table of Krejcie and Morgan, together with Stratified Random Sampling. The research tools were questionnaires, semi-structured interviews. The statistics used in the research were mean, standard deviation. classification power confidence value Study the guidelines from 3 schools with excellent practice, consisting of 1 director, 2 academic teachers, 9 people in total. The guidelines were evaluated by 7 experts. The results as follow; The present condition of curriculum administration and learning management of teachers using digital literacy of teachers under Maha Sarakham Primary Educational Service Area Office 1 overall were at moderate level. The aspect with the highest average was Measuring and Evaluation of Learning Using Digital Literacy The overall desirable condition was at a high level. The aspect with the highest average was Design and management of learning using digital literacy and the necessity of curriculum management and learning management of teachers using digital literacy of teachers under Maha Sarakham Primary Educational Service Area Office 1 can be classified as follows: 1) in terms of learning design and management using the Digital literacy 2) Curriculum creation and development using digital literacy 3) Use and development of innovative technology media using digital literacy 4) Learning management with learner-centered digital literacy skills and 5. ) measuring and evaluating learning by using digital literacy and there were results of assessing the suitability and feasibility of curriculum management guidelines and teacher learning management using digital literacy of teachers under Maha Sarakham Primary Education Service Area Office 1, overall and item-by-item at the level the most The mean suitability was 4.98 and the probability mean was 4.96, with a total of 17 guidelines for curriculum management and teacher learning management using digital literacy.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 2) พัฒนาแนวทางการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้โดยใช้การรู้ดิจิทัล ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูในสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 จำนวน 300 คน ได้มาโดยวิธีกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยเทียบตารางของ Krejcie and Morgan ประกอบกับการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในงานวิจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่น ศึกษาแนวทางจากสถานศึกษาที่มีการปฏิบัติดีเยี่ยม จำนวน 3 โรงเรียนประกอบด้วยผู้อำนวยการ 1 คน ครูฝ่ายวิชาการ 2 คน รวมทั้งสิ้น 9 คน ประเมินแนวทางโดยผู้เชี่ยวชาญ 7 คน ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันของการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ของครูโดยใช้การรู้ดิจิทัลของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง  ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้การรู้ดิจิทัล สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านการออกแบบและจัดการเรียนรู้โดยใช้การรู้ดิจิทัล และความต้องการจำเป็นของการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ของครูโดยใช้การรู้ดิจิทัลของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 สามารถจัดลำดับได้คือ 1) ด้านการออกแบบและจัดการเรียนรู้โดยใช้การรู้ดิจิทัล 2) ด้านการสร้างและพัฒนาหลักสูตรโดยใช้การรู้ดิจิทัล 3) ด้านการใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีโดยใช้การรู้ดิจิทัล 4) ด้านการจัดการเรียนรู้ด้วยทักษะการรู้ดิจิทัลที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และ 5) ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้การรู้ดิจิทัล และมีผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ของครูโดยใช้การรู้ดิจิทัลของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 โดยรวมและรายข้ออยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมเท่ากับ 4.87 และค่าเฉลี่ยความเป็นไปได้เท่ากับ 4.86 โดยมีแนวทางการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ของครูโดยใช้การรู้ดิจิทัล ทั้งหมด 5 ด้าน รวม 17 แนวทางth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectแนวทางth
dc.subjectการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectรู้ดิจิทัลth
dc.subjectGuidelinesen
dc.subjectCurriculum Management and Learning Managementen
dc.subjectDigital Literacyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleGuidelines for Curriculum Management and Learning Management by using Digital Literacy of teachers under Maha Sarakham Primary Educational Service Area Office 1en
dc.titleแนวทางการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้โดยใช้การรู้ดิจิทัล ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010581025.pdf6.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.