Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1855
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSurawoot Sukabuten
dc.contributorสุรวุฒิ สุขบัติth
dc.contributor.advisorPacharawit Chansirisiraen
dc.contributor.advisorพชรวิทย์ จันทร์ศิริสิรth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-20T11:20:17Z-
dc.date.available2023-01-20T11:20:17Z-
dc.date.issued3/11/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1855-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this study were : 1) to examine the leadership behavior of school administrators under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1, 2) study at effectiveness of schools under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1, 3) to find out a relation between  the leadership behavior of school administrators and effectiveness of schools under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 and 4) to develop guidelines for developing the leadership behavior of school administrators affecting the effectiveness of schools under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 2. The research method was divided into 2 phases. Phase 1st was to study current conditions and a relation between the leadership behavior of school administrators and effectiveness of schools under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1. The samples were 291 teachers under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1. The stratified random sampling method was applied for the sample group. The instrument used in the study was rating scale questionnaire. Phase 2nd was to develop guidelines for developing the leadership behavior of school administrators affecting the effectiveness of schools under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1. The development guideline was evaluated by 5 experts, selected from purposive sampling technique. The instrument used in the study was an assessment of appropriateness and feasibility of the guideline. Percentage, mean, standard deviation and a relation between the leadership behavior of school administrators and effectiveness of schools synthesis by Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient were the parameters used for statistical analysis. The results indicates that: 1. The overall opinions concerning the leadership behavior of school administrators under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 was found to be at the high level as follow : the productivity attentive behavior, the relationship attentive behavior and team working attentive behavior. 2. The overall opinions concerning the effectiveness of schools under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 was found to be at the high level as followed : The ability to develop students to get high learning achievement, The ability to develop students to be positive attitude, the efficiency in modification and development schools and the efficiency in solving school problems. 3. The relationship between the leadership behavior of school administrators and effectiveness of schools was statistically significant at .01 level. 4. guidelines for developing the leadership behavior of school administrators affecting the effectiveness of schools under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1 can be include 3 parts ; 1) the 7 guidelines of productivity attentive behavior part and 2) The 4 guidelines team working attentive behavior part All 11 guidelines were appropriateness and feasibility of the guidelines at the high level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 2) ศึกษาประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 และ 4) เสนอแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน และความสัมพันธ์ของภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคามเขต 1 จำนวน 291 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตรส่วนประมาณค่า ระยะที่ 2 เสนอแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 และประเมินแนวทางโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมกับประสิทธิผลของโรงเรียน โดยใช้วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน   ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 ตามความคิดเห็นของข้าราชการครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก และทุกด้านอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านพฤติกรรมผู้นำแบบมุ่งผลผลิต ด้านพฤติกรรมผู้นำแบบมุ่งความสัมพันธ์ และด้านพฤติกรรมผู้นำแบบทีม ตามลำดับ 2. ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 ตามความคิดเห็นของข้าราชการครูโดยรวมอยู่ในระดับมาก และทุกด้านอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านความสามารถผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ด้านความสามารถในการพัฒนานักเรียนให้มีทัศนคติเชิงบวก ด้านความสามารถในการปรับเปลี่ยนและพัฒนาสถานศึกษา และด้านความสามารถในการแก้ปัญหาภายในสถานศึกษา 3. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียน พบว่า โดยรวม มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 1 ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านพฤติกรรมผู้นำแบบมุ่งผลผลิต 7 แนวทาง  2) ด้านพฤติกรรมผู้นำแบบทีม 4 แนวทาง รวมทั้งสิ้น 11 แนวทาง โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectแนวทางการพัฒนาth
dc.subjectภาวะผู้นำth
dc.subjectประสิทธิผลของสถานศึกษาth
dc.subjectGuidelines for Developingen
dc.subjectThe Leadership Behavioren
dc.subjectThe Effectiveness of Schoolsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleGuidelines for Developing the Leadership Behavior of the School Administrators Affecting the Effectiveness of Schools under Mahasarakham Primary Educational Service Area Office 1en
dc.titleแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผล ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มหาสารคาม เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010581061.pdf5.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.