Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1942
Title: | Biodiversity of Petrified Woods in Phu Por and Phu Noi Fossil Sites, Kham Muang District, Kalasin Province ความหลากหลายทางชีวภาพของไม้กลายเป็นหินในเเหล่งซากดึกดำบรรพ์ภูปอเเละภูน้อย อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ |
Authors: | Phanitada Srikampa ภณิฑดา ศรีคำภา Suravech Suteethorn สุรเวช สุธีธร Mahasarakham University Suravech Suteethorn สุรเวช สุธีธร suravech.s@msu.ac.th suravech.s@msu.ac.th |
Keywords: | Agathoxylon, Shimakuroxylon, ซากดึกดำบรรพ์ไม้, จูแรสสิกตอนปลาย, กลุ่มหินโคราช Agathoxylon Shimakuroxylon fossil wood Late Jurassic Khorat Plateau. |
Issue Date: | 27 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | Base on the comparative wood anatomical study of Mesozoic petrified trunks from Phu Por and Phu Noi fossil sites, Kham Muang District, Kalasin Province, two petrified wood genera, Agathoxylon and Shimakuroxylon were found. Eight petrified tree trunks (range from 2 – 6 meters) from Phu Por, which is part of the community forest ecotourism sites are Agathoxylon sp. The fossil is characterized by present growth rings, thin-walled tracheids, 1 – 2-seriate alternate or opposite intertracheary pits in radial walls, 1 – 2-seriate rays, cross-field with 4 – 12 araucarioid cross-field pits. The other specimen from Phu Noi (estimated diameter 0.50 meters) is Shimakuroxylon sp., which is characterized by present growth rings, thin-walled tracheids, 1 – 2-seriate alternate or opposite intertracheary pits Japonicum type in radial walls, 1 – 2-seriate rays, cross-field with 4 – 8 cupressoid cross-field pits. This research supports the previous study age of the Phu Noi fossil site dating to the Late Jurassic. Thus far, Shimakuroxylon sp. is considered the oldest petrified wood in the Khorat Plateau. Additionally, growth rings of these fossils indicate a climate was wet with annual short dry season. จากการศึกษาเปรียบเทียบลักษณะทางกายวิภาคของไม้กลายเป็นหินมหายุคมีโซโซอิก ณ แหล่งซากดึกดำบรรพไม้กลายเป็นหินภูปอและแหล่งซากดึกดำบรรพ์ภูน้อย อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ พบไม้กลายเป็นหิน 2 สกุล คือ Agathoxylon และ Shimakuroxylon ไม้กลายเป็นหินแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ป่าชุมชมภูปอ จำนวน 8 ต้น ยาว 2 – 6 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.3 – 0.9 เมตร ล้วนแต่เป็น Agathoxylon sp. มีวงปีชัดเจน ผนังเทรคีดบาง หลุมผนังเซลล์ 1 – 2-seriate เซลล์เรย์ 1 – 2-seriate และมี cross-field pits แบบ araucarioid 4 – 12 รอยเว้า ไม้กลายเป็นหินอีกหนึ่งท่อนจากภูน้อยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.50 เมตร จัดเป็น Shimakuroxylon sp. มีวงปีชัดเจน ผนังเทรคีดบาง หลุมผนังเซลล์ 1 – 2-seriate แบบ Japonicum เซลล์เรย์ 1 – 2-seriate และมี cross-field pits แบบ cupressoid 4 – 8 รอยเว้า งานวิจัยนี้ช่วยสนับสนุนข้อมูลอายุของชั้นหินจากแหล่งซากดึกดำบรรพ์ภูน้อยที่มีการศึกษาก่อนหน้านี้ว่า อยู่ในช่วงยุคจูแรสสิกตอนปลาย ดังนั้น Shimakuroxylon sp. จึงเป็นไม้กลายเป็นหินที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของกลุ่มหินโคราชตั้งแต่มีการศึกษาในประเทศไทยจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ ลักษณะวงปีของไม้กลายเป็นหินเหล่านี้ แสดงให้เห็นถึงสภาพภูมิอากาศที่ค่อนข้างเปียกชื้นสลับกับมีฤดูแล้งเป็นเวลาสั้น ๆ |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1942 |
Appears in Collections: | The Faculty of Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60010256011.pdf | 8.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.