Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1953
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Wananda Prabpai | en |
dc.contributor | วนันท์ดา ปราบภัย | th |
dc.contributor.advisor | Nongluk Viriyapong | en |
dc.contributor.advisor | นงลักษณ์ วิริยะพงษ์ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-07T09:37:52Z | - |
dc.date.available | 2023-09-07T09:37:52Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 29/4/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1953 | - |
dc.description.abstract | Mathematics an important role in learning success in the 21st century, as it helps humans to be creative, think logically, systematically, analyze problems carefully and carefully, predict, plan, make decisions, solve problems correctly and effectively implement them in real life. Mathematics is also a tool for science, technology, and other sciences, which are the foundation for developing quality national human resources. Mathematics education therefore needs to be continually developed to be modern and in harmony with economic, social and scientific and technological conditions.The purposes of this study were: (1) to develop plans for organization of mathematics learning activities cooperative learning using learning together technique with technology media in teaching mathematics on percentage and ratio of Prathomsuksa 6 with a require efficiency of 70/70; (2) to find out the effectiveness index of plans for the organization of mathematics learning activities cooperative learning using learning together technique with technology media in teaching mathematics on percentage and ratio of Prathomsuksa 6; (3) to compare the mathematical achievement of student and mathematical problem-solving ability who study cooperative learning using learning together technique with technology media in teaching mathematics on percentage and ratio of Prathomsuksa 6 with 70 percent criteria. The participants in this study were sixteen students who studied in grade 6 at Bankhunhan School, Khunhan District, Sisaket Province, Sisaket Primary Education Service Area Office 4, in the second semester of academic 2022. However, they were selected by using the cluster random sampling technique. The instruments are used in the study were (1) mathematics learning activities cooperative learning using learning together technique with technology media in teaching mathematics mathematical achievement and mathematical problem-solving ability on percentage and ratio of Prathomsuksa 6 plan for 18 plans each, totally 18 hours; (2) the learning achievement test on percentage and ratio of Prathomsuksa 6 were 20 questions for multiple choices, item-objective congruence index (IOC) of test was 0.80-1.00, the difficult (p) of test was between 0.25-0.63, the discrimination (B) of test was between 0.22-0.73 and the reliability of all the item was 0.85; (3) the mathematical problem-solving ability test on percentage and ratio of Prathomsuksa 6 were 4 questions for a subjective way of thinking, item-objective congruence index (IOC) of test was 0.80-1.00, the difficult (p) of test was between 0.50-0.55, the discrimination (B) of test was between 0.38-0.80 and the reliability of all the item was 0.73. The statistics are used for analyzing the data. It consists of percentage, mean, and standard deviation. Moreover, to examine the hypothesis by using a Hotelling’s T2. The results of the study were as follows: 1. The lesson plans for organization of mathematics learning activities of cooperative learning using learning together technique with technology media in teaching mathematics on percentage and ratio of Prathomsuksa 6 was 77.28/72.81, respectively. 2. The effectiveness index of plans for organization of mathematics learning of cooperative learning using learning together technique with technology media in teaching mathematics on percentage and ratio of Prathomsuksa 6 was 0.5953, or 59.53 percent, respectively. 3. Mathematical achievement of students who studied cooperative learning using learning together technique with technology media in teaching mathematics on percentage and ratio of Prathomsuksa 6 accounted not over 70 percent criteria at .05 level of significance and mathematical problem-solving ability of students who studied using learning together technique with technology media in teaching mathematics on percentage and ratio of Prathomsuksa 6 at over 70 percent criteria at .05 level of significance. | en |
dc.description.abstract | คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อความสำเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากคณิตศาสตร์ ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา ได้อย่างถูกต้องและสามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อื่น ๆ อันเป็นรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติให้มีคุณภาพ การศึกษาคณิตศาสตร์จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันสมัยและสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย (1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ร่วมกับการใช้สื่อเทคโนโลยี เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 (2) เพื่อหาดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ร่วมกับการใช้สื่อเทคโนโลยี เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ร่วมกับการใช้สื่อเทคโนโลยีกับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านขุนหาญ อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 16 คน ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ร่วมกับการใช้สื่อเทคโนโลยี เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แบบละ 18 แผน แผนละ 1 คาบ คาบละ 1 ชั่วโมง (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ตั้งแต่ 0.80-1.00 มีค่าความยาก (p) ตั้งแต่ 0.25 – 0.63 มีค่าอำนาจจำแนก (B) ตั้งแต่ 0.22 – 0.73 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.85 (3) แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นแบบทดสอบอัตนัย จำนวน 4 ข้อ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ตั้งแต่ 0.80-1.00 มีค่าความยาก (p) ตั้งแต่ 0.50 – 0.55 มีค่าอำนาจจำแนก (r) ตั้งแต่ 0.38 – 0.80 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.73 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ Hotelling’s T2 ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ร่วมกับการใช้สื่อเทคโนโลยี มีประสิทธิภาพ (E1/E2 ) ตามเกณฑ์ 77.28/72.81 2. ดัชนีประสิทธิผล (E.I.) ของแผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ร่วมกับการใช้สื่อเทคโนโลยี เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 0.5953 แสดงว่า นักเรียนมีคะแนนเพิ่มขึ้นร้อยละ 59.53 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ร่วมกับการใช้สื่อเทคโนโลยีไม่สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่ระดับนัยสำคัญ .05 และความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ร่วมกับการใช้สื่อเทคโนโลยีสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่ระดับนัยสำคัญ .05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ | th |
dc.subject | เทคนิค LT | th |
dc.subject | การใช้สื่อเทคโนโลยีในการสอนคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | th |
dc.subject | ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | Cooperative learning | en |
dc.subject | Learning together technique | en |
dc.subject | Technology media in teaching mathematics | en |
dc.subject | Learning achievement | en |
dc.subject | Mathematical problem-solving ability | en |
dc.subject.classification | Mathematics | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | Effect of Cooperative Learning Using Learning Together Technique with Technology Media in Teaching Mathematics on Percentage and Ratio on Mathematical Problem-Solving Ability and Mathematics Learning Achievement of Prathomsuksa 6 Students | en |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ร่วมกับการใช้สื่อเทคโนโลยีในการสอนคณิตศาสตร์ เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Nongluk Viriyapong | en |
dc.contributor.coadvisor | นงลักษณ์ วิริยะพงษ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | nongluk.h@msu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | nongluk.h@msu.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Science (M.Sc.) | en |
dc.description.degreename | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Mathematics | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาคณิตศาสตร์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64010285003.pdf | 5.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.