Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1958
Title: A Fully-Balanced All-Pass Filter with CAPRIO Technique
การใช้เทคนิคคาปริโอสําหรับวงจรกรองสัญญาณผ่านทั้งหมดแบบสมดุล
Authors: Chai Wankan
ชัย วันคัน
Worawat Sa-Ngiamvibool
วรวัฒน์ เสงี่ยมวิบูล
Mahasarakham University
Worawat Sa-Ngiamvibool
วรวัฒน์ เสงี่ยมวิบูล
worawat.s@msu.ac.th
worawat.s@msu.ac.th
Keywords: วงจรกรองสัญญาณผ่านทั้งหมด
แบบสมดุล
ค่าความเพี้ยนฮาร์โมนิกรวม
Fully-Balanced
Harmonic Distortion
Caprio Technique
Issue Date:  27
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This thesis aims to: (1) analyze fully-balanced current-tunable all-pass filter circuits and the Caprio Technique; (2) synthesize fully-balanced current-tunable all-pass filter circuits and the Caprio Technique; (3) simulate fully-balanced current-tunable all-pass filter circuits and the Caprio Technique, and (4) compare fully-balanced current-tunable all-pass filter circuits and the Caprio Technique. The Fully-Balanced Current-Tunable all-pass filter with Caprio's technique is the simple structure. The proposed circuit consists of the low-pass filter, the buffer, and the Caprio technique circuit. The advantages of the proposed circuit can be controlled by electronics and reduce total harmonic distortion. The proposed circuit is suitable for the application. The simulation of the PSPICE program showed that it provides good results and is in accordance with the predicted theoretical analysis.
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์วงจรกรองสัญญาณผ่านทั้งหมดแบบสมดุลปรับแต่งด้วยกระแสและเทคนิคคาปริโอ (2) สังเคราะห์วงจรกรองสัญญาณผ่านทั้งหมดแบบสมดุลปรับแต่งด้วยกระแสโดยการใช้เทคนิคคาปริโอ (3) จำลองกรองสัญญาณผ่านทั้งหมดแบบสมดุลปรับแต่งด้วยกระแสโดยการใช้เทคนิคคาปริโอ (4) เปรียบเทียบวงจรกรองสัญญาณผ่านทั้งหมดแบบสมดุลปรับแต่งด้วยกระแสโดยการใช้เทคนิคคาปริโอ วงจรกรองสัญญาณผ่านทั้งหมดปรับกระแสได้สมดุลด้วยเทคนิคคาปริโอมีโครงสร้างที่ง่ายไม่ซับซ้อน โดยวงจรประกอบด้วย วงจรกรองความถี่ต่ำ วงจรบัฟเฟอร์ และวงจรใช้เทคนิคคาปริโอวงจรวงจรมีข้อดีคือ สามารถควบคุมความถี่ได้ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ และลดค่าความเพี้ยนฮาร์โม-     นิกรวมวงจร เหมาะสมกับการใช้งานเป็นอย่างมาก ผลการจำลองการทำงานของวงจรด้วยโปรแกรม PSPICE แสดงให้เห็นว่าได้ผลดีโดยสอดคล้องกับการวิเคราะห์เชิงทฤษฎีที่คาดการณ์ไว้
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1958
Appears in Collections:The Faculty of Engineering

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010360001.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.