Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1991
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Montiya Leeprakhon | en |
dc.contributor | มนทิยา ลีประโคน | th |
dc.contributor.advisor | Yannapat Seehamongkon | en |
dc.contributor.advisor | ญาณภัทร สีหะมงคล | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University | en |
dc.date.accessioned | 2023-09-07T10:28:59Z | - |
dc.date.available | 2023-09-07T10:28:59Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 12/6/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1991 | - |
dc.description.abstract | This research aims to (1) study components and indicators, current conditions, problems, and guidelines for learning management development. to enhance Mathematics Literacy for teachers at the lower secondary level (2) creating a learning management development curriculum to enhance knowledge of mathematics for teachers at the lower secondary level; (3) studying the use of the learning management development curriculum to enhance knowledge of mathematics; and (4) studying the opinions of the head of academic administration, education supervisors, teachers, and students. towards the learning management development course by research and development regulations The research was divided into 4 phases, namely Phase 1: a study of components and indicators, current conditions, problems, and guidelines for learning management development to enhance knowledge of mathematics. For teachers at the lower secondary level, Phase 2: Creation of a learning management development curriculum to enhance knowledge of mathematics For teachers at the lower secondary level, Phase 3 was to study the results of using the learning management development curriculum to enhance knowledge of mathematics for teachers of mathematics, and Phase 4 was to study the opinions of heads of academic administration, education supervisors, teachers, and students towards the learning management development curriculum. The research tools were curriculum and course materials, questionnaires, interview forms, tests, and assessment forms. The data were analyzed using basic statistics, including percentage, mean, and standard deviation. The qualitative data was used for content analysis. The results showed that: 1. Learning management to enhance knowledge of mathematics For teachers, there are three main components, nine sub-components, and 14 indicators: current condition and learning management. to enhance knowledge of mathematics For junior high school mathematics teachers Overall, it was at a low level in all aspects. Learning management problems to enhance knowledge of mathematics For junior high school mathematics teachers Overall, it was at a high level. and guidelines for developing learning management to enhance knowledge of mathematics for teachers in mathematics at the lower secondary level as follows: 1) developing teachers' knowledge and understanding of mathematics literacy in learning management 3) supervision, follow-up, and learning management to enhance knowledge of mathematics. 2. A learning management development course To enhance knowledge of mathematics for lower secondary teachers, consisting of (2.1) objectives of the curriculum and (2.2) content scope 6 learning units to enhance knowledge and understanding about mathematics literacy and (3) learning management. 3. The results of using the learning management development curriculum to enhance knowledge of mathematics for teachers at the lower secondary level are as follows: (3.1) Teachers have knowledge and understanding about knowing mathematics (average score of 85 percent) and knowledge and understanding about learning management to enhance knowledge of mathematics. The average score was 86.65 (3.2) percent in learning management to enhance knowledge of mathematics. Most of them were at a good level (3.3). Teachers were satisfied. Per the learning management development course, to enhance knowledge of mathematics Overall, it was at the highest level. 4. Opinions of the head of academic administration, education supervisors, teachers, and students towards the learning management development curriculum for enhancing mathematics knowledge overall, it was at a high level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ (1) การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัด สภาพปัจจุบัน ปัญหา และแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ สำหรับครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (2) การสร้างหลักสูตรการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ สำหรับครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (3) ศึกษาการใช้หลักสูตรการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ และ (4) ศึกษาความคิดเห็นของหัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ ศึกษานิเทศก์ ครูผู้สอนและนักเรียน ที่มีต่อหลักสูตรการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยระเบียบวิจัยและพัฒนา แบ่งการวิจัยออกเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัด สภาพปัจจุบัน ปัญหา และแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ สำหรับครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระยะที่ 2 การสร้างหลักสูตรการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ สำหรับครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระยะที่ 3 ศึกษาผลการใช้หลักสูตรการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ สำหรับครูผู้สอนคณิตศาสตร์ และระยะที่ 4 ศึกษาความคิดเห็นของหัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ ศึกษานิเทศก์ ครูผู้สอน และนักเรียน ที่มีต่อหลักสูตรการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ หลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตร แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบทดสอบ และแบบประเมิน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ สำหรับครูผู้สอนมี 3 องค์ประกอบหลัก 9 องค์ประกอบย่อย และ 14 ตัวบ่งชี้ สภาพปัจจุบัน การจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ สำหรับครูผู้สอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อยทุกด้าน ปัญหาการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ สำหรับครูผู้สอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ สำหรับครูผู้สอนคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ดังนี้ 1) การพัฒนาครูให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ 2) การพัฒนาความสามารถ ในการจัดการเรียนรู้ 3) การนิเทศ ติดตามผล การจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ 2. หลักสูตรการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์สำหรับครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ประกอบด้วย (2.1) จุดมุงหมายของหลักสูตร (2.2) ขอบข่ายเนื้อหา 6 หน่วยการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ และ (3) การจัดการเรียนรู้ 3. ผลการใช้หลักสูตรการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ สำหรับครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ดังนี้ (3.1) ครูผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 85 และมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 86.65 (3.2) ครูผู้สอนมีความสามารถ ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี (3.3) ครูผู้สอนมีความพึงพอใจ ต่อหลักสูตรการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 4. ความคิดเห็นของหัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ ศึกษานิเทศก์ ครูผู้สอน และนักเรียน ที่มีต่อหลักสูตรการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การพัฒนาหลักสูตร | th |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้ | th |
dc.subject | การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | Curriculum Development | en |
dc.subject | Learning Management | en |
dc.subject | Mathematical Literacy | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | Learning Management Development Course to Enhance Mathematica Literacy for Lower Secondary School Teachers of Educational Opportunities Expansion School under the Office of the Basic Education Commission | en |
dc.title | หลักสูตรการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ สำหรับครูผู้สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Yannapat Seehamongkon | en |
dc.contributor.coadvisor | ญาณภัทร สีหะมงคล | th |
dc.contributor.emailadvisor | yannapat.s@msu.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | yannapat.s@msu.ac.th | |
dc.description.degreename | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Research and Educational Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59010560011.pdf | 17.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.