Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2006
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorDoungdao Akrabordeeen
dc.contributorดวงดาว อัครบดีth
dc.contributor.advisorKarn Ruangmontrien
dc.contributor.advisorกาญจน์ เรืองมนตรีth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T10:29:03Z-
dc.date.available2023-09-07T10:29:03Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued22/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2006-
dc.description.abstractThis research was aimed to 1) study current conditions, desirable conditions, and needs for supervision; 2) create and verify a supervision model; and 3) try out and evaluate the supervision model for enhancing learning skills of elementary students in charity schools of Buddhism temples. The sample group for data collection included school administrators, head department teachers, and elementary school teachers of in charity schools of Buddhism temples. Statistics used in data analysis were mean, standard deviation, and t-test (Dependent Samples). Findings revealed as follows: 1. The study of the current and desirable conditions of supervision for enhancing learning skills of elementary students in charity schools of Buddhism temples indicated that the current conditions of practice were at a moderate level. When considering each aspect, the current conditions with the highest average included supervision operation, post-class observation meeting for feedback, supervision planning. Supervision operation, data analysis from teaching observation, supervision planning, and the desirable conditions of supervision found that the desirable conditions were at the highest level. When considering each aspect, the desirable conditions with the highest average referred to supervision operation, pre-class observation meeting, post-class observation meeting for feedback, and supervision planning. The study of components and indicators of the supervision for enhancing learning skills of elementary students in charity schools of Buddhism temples was found that the supervision consisted of 5 components with 56 indicators. 2. The results of the supervision model development for enhancing learning skills of elementary students in charity schools of Buddhism temples, evaluated and verified by experts, included 1. Principle of the model; 2. Purpose of the model; 3. Supervision process (APMER Model) consisting of Step 1 Analyzing (A), Step 2 Planning (P), Step 3 Management (M) with 4 steps including 1) Pre-class observation meeting, 2) Class observation, 3) Data analysis from class observation, and 4) Post-class observation meeting for feedback, Step 4 Evaluation (E);  Step 5 Reinforcing (R) 4. Evaluation of the model; and 5. Success conditions. 3. Using the supervision model indicated that 1) supervised teachers had higher knowledge than before receiving training on learning management to enhance learning skills of elementary students. 2) The supervised teachers had higher learning management abilities after the supervision. 3) Learning skills, learning and innovation, information, media and technology, and life skills of Grade 4-6 students have improved. 4) The satisfaction of supervised teachers and students toward the supervision model was at the highest level. 5) The results of applying the supervision model, considering the suitability, feasibility, and usefulness were at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการนิเทศเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา 2) การพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา และ 3) ทดลองใช้และประเมินรูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในโรงเรียนการกุศลของวัด ในพระพุทธศาสนา กลุ่มตัวอย่างและกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูวิชาการ และครูผู้สอน จำนวน 136 คน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล จำนวน 9 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก แบบทดสอบ และแบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test (Dependent Sample) ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการนิเทศเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา พบว่า สภาพปัจจุบันมีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า สภาพปัจจุบันที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ด้านการปฏิบัติการนิเทศ การประชุมให้ข้อมูลย้อนกลับหลังการสังเกตการสอน การวางแผนการนิเทศ ด้านการปฏิบัติการนิเทศ การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสังเกตการสอน การวางแผนการนิเทศและสภาพที่พึงประสงค์ของการนิเทศ พบว่า สภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า สภาพที่พึงประสงค์ที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ปฏิบัติการนิเทศ การประชุมก่อนการสังเกตการสอน การประชุมให้ข้อมูลย้อนกลับหลังการสังเกตการสอนและการวางแผนการนิเทศ และผลการศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดของการนิเทศเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา พบว่า การนิเทศเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของนักเรียน มี 5 องค์ประกอบ 56 ตัวชี้วัด 2. ผลการพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา ที่ผ่านการประเมินและตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ คือ 1. หลักการของรูปแบบ 2. วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3. กระบวนการนิเทศ (APMER Model) ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน (Analyzing : A) ขั้นที่ 2 วางแผนการนิเทศ (Planning : P) ขั้นที่ 3 การจัดการความรู้ (Management : M) มี 4 ขั้นตอน คือ 1) การประชุมก่อนการสังเกตชั้นเรียน 2) การสังเกตชั้นเรียน 3) การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสังเกตชั้นเรียน 4) ประชุมให้ข้อมูลย้อนกลับหลังการสังเกตชั้นเรียน ขั้นที่ 4 ประเมินผลการนิเทศ (Evaluating : E) ขั้นที่ 5 การเสริมแรง (Reinforcing : R) 4. การประเมินรูปแบบ และ 5. เงื่อนไขความสำเร็จ 3. ผลการใช้รูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถม ศึกษาในโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา พบว่า 1) ครูผู้รับการนิเทศมีความรู้สูงกว่าก่อนได้รับการอบรมเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษา 2) ครูผู้รับการนิเทศมีความสามารถในการจัดการเรียนรู้สูงขึ้นหลังรับการนิเทศ 3) ทักษะการเรียนรู้ ด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี และด้านทักษะชีวิตของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4–6 มีพัฒนาการเพิ่มขึ้น 4) ความพึงพอใจของครูผู้รับการนิเทศและนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด 5) ผลการประเมินผลการใช้รูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา เมื่อพิจารณาการประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectรูปแบบth
dc.subjectการนิเทศth
dc.subjectทักษะการเรียนรู้th
dc.subjectModelen
dc.subjectSupervisionen
dc.subjectLearning Skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Development Model of Supervision to Enhance the Learning Skills of the Students in the Study Filled the Charity School of Buddhist Templesen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของนักเรียน ระดับประถมศึกษา ในโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorKarn Ruangmontrien
dc.contributor.coadvisorกาญจน์ เรืองมนตรีth
dc.contributor.emailadvisorKarn.r@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorKarn.r@msu.ac.th
dc.description.degreenameDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010564005.pdf17.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.