Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2012
Title: Development of Blended Learning Activities to Promote Competencies in Media Literacy, Information and Digital Communication, and Learning Outcomes for Prathomsuksa 2 Students
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ผสมผสานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัลและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
Authors: Tunwarut Khongklai
ธัญวรัตม์ คงคล้าย
Thanadol Phuseerit
ธนดล ภูสีฤทธิ์
Mahasarakham University
Thanadol Phuseerit
ธนดล ภูสีฤทธิ์
thanadol.p@msu.ac.th
thanadol.p@msu.ac.th
Keywords: การเรียนรู้ผสมผสาน, สมรรถนะการรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล, สมรรถนะด้าน ICT
Blended learning digital media literacy and competence ICT competence.
Issue Date:  23
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This research aimed to 1) develop blended learning activities for Prathomsuksa 2 students to be effective according to the criteria of 75/75, 2) compare the digital media literacy and competence before and after for Prathomsuksa 2 students 3) compare the learning outcomes before and after of Prathomsuksa 2 students, and 4) study the satisfaction level of Prathomsuksa 2 students. The research samples were 20 students at Bannongwanakampattana School selected by Cluster Random Sampling. The research instruments were 1) teaching lesson plans, 2) digital media literacy competency assessment, 3) pre- and post-learning performance assessment, and 4) satisfaction level measurement. Statistical analysis methods used in the study included mean, standard deviation, percentage and dependent samples t-test.           The research found that 1) the blended learning activities for Prathomsuksa 2 students, had an effectiveness value at 77.67/79.00 meeting the criteria of 75/75, 2) the competency in information and digital literacy was at a good level, with a percentage of 75.64, 3) the learning achievement after the learning activities was significantly higher than before, with a mean value of 23.70 and a standard deviation of 3.20 which the post-test scores were statistically significantly higher than the pre-test scores at a statistical level of .05, and 4) the satisfaction level towards the blended learning activities was at the highest level, with a mean value of 4.67 and a standard deviation of 0.69.
 การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1)เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ผสมผสานสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ในระดับ 75/75 2)เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะการรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัลระหว่างก่อนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2  3)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2  4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านหนองหว้านาคำพัฒนา จำนวน 20 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือในที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบวัดสมรรถนะการรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศดิจิทัล 3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน 4)แบบวัดความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และt-test แบบ Dependent Samples          ผลการศึกษาพบว่า 1) กิจกรรมการเรียนรู้ผสมผสานสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษที่ 2มีประสิทธิภาพเท่ากับ 77.67/79.00 เป็นไปตามเกณฑ์ 75/75ที่กำหนดไว้  2)สมรรถนะการรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัลภาพรวมในระดับเข้าใจในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 75.64 3)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนมากกว่าก่อนเรียน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 23.70 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.20 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05  4)ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผสมผสานในภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.67 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.69
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2012
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010580013.pdf6.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.