Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2014
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJerapob Saengboonmeen
dc.contributorจีรภพ แสงบุญมีth
dc.contributor.advisorLakkana Sariwaten
dc.contributor.advisorลักขณา สริวัฒน์th
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T10:29:04Z-
dc.date.available2023-09-07T10:29:04Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued5/2/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2014-
dc.description.abstractThis research aimed to 1) Study the current condition, desirable condition and the need to enhance teacher competency in STEM learning management in educational institutions under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2. 2) Develop a program to enhance teacher competency in STEM learning management in educational institutions under the Office of Kalasin Elementary Education Service Area 2. The research was divided into 2 phases, including 1) Investigating current condition, desirable condition and the need to enhance teacher competency in STEM education. In educational institutions under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2. The sample group was 226 teachers teaching science and mathematics of schools under Kalasin Elementary Education Service Area Office 2 obtained by multi-stage samplings techniques. The research tool was a questionnaire. Phase 2 Developing a program in STEM Learning Management In educational institutions under the Kalasin Primary Educational Service Area Office 2. The informant groups consisted of 2 administrators and 2 teachers at 2 model schools, totaling 4 people as well as 5 experts assessing the program. The tools used for data collection were the interview form and an assessment form. The statistics for the data analysis were percentage, mean, standard deviation and the required demand index value. The results of the research revealed as follows: 1. The STEM learning management to enhance the teacher competency in schools under the Office of Kalasin Elementary Education Service Area 2 in current condition was at a moderate level, in desirable condition was at a high level and the need to enhance was in order from high to low as Teacher's knowledge about understanding of learners, Teacher's knowledge of STEM teaching goals, Teacher's knowledge about learning assessment, Teacher's knowledge of the STEM curriculum as well as Teachers' knowledge of STEM teaching strategies, respectively. 2. The program to enhance teacher competency in STEM learning management in educational institutions Under the Office of Kalasin Elementary Education Service Area 2 consisted of 5 components: 1) Principle 2) Objective 3) Content 4) Development Method 5) Measurement and Evaluation that was divided into 5 modules: Module 1 STEM Teaching Goals Module, 2 STEM Curriculum Module, 3 Comprehension In Learners, Module 4 STEM Teaching Strategies and Module 5 Learning Assessment. The Program was assessed by 5 experts with a high level of appropriateness and feasibility.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีความมุ่งหมายดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาของครู ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 2) เพื่อพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาของครู ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 โดยแบ่งการดำเนินการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นในการเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และวิชาคณิตศาสตร์ ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 จำนวน 226 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Samplings) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ระยะที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาของครู ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหาร และครูโรงเรียนต้นแบบ 2 แห่ง รวมจำนวน 4 คน และผู้ทรงคุณวุฒิ ทำหน้าที่ประเมินโปรแกรม จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. การเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาของครู ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 มีสภาพปัจจุบันอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมาก และความต้องการจำเป็นของการเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาของครู ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 เรียงจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้ ความรู้ของครูเกี่ยวกับความเข้าใจในผู้เรียน ความรู้ของครูเกี่ยวกับเป้าหมายการสอนสะเต็มศึกษา ความรู้ของครูเกี่ยวกับการประเมินการเรียนรู้ ความรู้ของครูเกี่ยวกับหลักสูตรสะเต็มศึกษา และความรู้ของครูเกี่ยวกับกลวิธีการสอนสะเต็มศึกษา ตามลำดับ 2. โปรแกรมเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาของครู ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) เนื้อหา 4) วิธีการพัฒนา 5) การวัดและประเมินผล แบ่งออกเป็น 5 โมดูล คือ โมดูลที่ 1 เป้าหมายการสอนสะเต็มศึกษา โมดูลที่ 2 หลักสูตรสะเต็มศึกษา โมดูลที่ 3 ความเข้าใจในผู้เรียน โมดูลที่ 4 กลวิธีการสอนสะเต็มศึกษา และโมดูลที่ 5 การประเมินการเรียนรู้ ได้รับการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectสะเต็มศึกษาth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectโปรแกรมเสริมสร้างth
dc.subjectSTEM Educationen
dc.subjectLearning Managementen
dc.subjectThe Program to Enhanceen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleDeveloping the STEM Education Management Enhancing Program for Teachers under the Kalasin Primary Educational Service Area Office 2en
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorLakkana Sariwaten
dc.contributor.coadvisorลักขณา สริวัฒน์th
dc.contributor.emailadvisorlakkana.sariwat@hotmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorlakkana.sariwat@hotmail.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010586001.pdf4.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.