Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2024
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPattamanan Santreeen
dc.contributorปัทมนันท์ แสนตรีth
dc.contributor.advisorMontree Wongsaphanen
dc.contributor.advisorมนตรี วงษ์สะพานth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T10:45:34Z-
dc.date.available2023-09-07T10:45:34Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued17/1/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2024-
dc.description.abstractThis research aimed 1) to develop a model-based learning management plan to be effective according to the 75/75 criteria, 2) to compare the learning achievement of students who received model-based learning management on work and energy with the 70% criteria, 3) To compare the understanding of scientific concepts between pre-learning and post-learning with a model-based learning management on work and energy and 4) to compare scientific reasoning between pre-learning and post-learning with a model-based learning management on work and energy. The sample used in this research were Mathayomsuksa 2/7 students studying in the second semester of the academic year 2021 at Sarakham Pittayakom School, Maha Sarakham Province;40 students were obtained by random cluster sampling. The research instruments were 1) Six model-based learning management plan on work and energy for grade 8th students, 2) The academic achievement tests with a value of reliability (r) was 0.81, 3) a scientific concepts test with a value of reliability (α) was 0.72, and 4) scientific reasoning tests with a value of reliability (α) was 0.82. The statistics used in the data analysis were percentage, average, Standard Deviation, and t-test for one and two dependent samples.   The results of the research were: 1. The model-based learning management plan on Work and Energy for grade 8th students effective was 76.98/75.33. 2. The students’ learning achievement scores on Work and Energy after learning through model-based learning were statistically significantly higher than the 70% criteria at the .05 level. 3. The students’ understanding on scientific concepts after learning through model-based learning were statistically significantly higher than before at the .05 level. 4. The students’ understanding on scientific reasoning after learning through model-based learning were statistically significantly higher than before at the .05 level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง งานและพลังงาน กับเกณฑ์ร้อยละ 70 3) เพื่อเปรียบเทียบความเข้าใจมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง งานและพลังงาน และ 4) เพื่อเปรียบเทียบการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง งานและพลังงาน ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/7 ที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนสารคามพิทยาคม จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานเรื่อง งานและพลังงาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 6 แผนการเรียนรู้ 14 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (r) เท่ากับ 0.81 3)แบบทดสอบวัดความเข้าใจมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ แบบอัตนัยจำนวน 6 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (α) เท่ากับ 0.72 และ 4) แบบทดสอบวัดการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์อัตนัย จำนวน 6 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (α) เท่ากับ 0.82 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าที โดยใช้ One sample และ Dependent samples t-test    ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง งานและพลังงาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 76.98/75.33 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง งานและพลังงาน หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 3. นักเรียนมีความเข้าใจมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. นักเรียนมีความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานth
dc.subjectความเข้าใจมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์th
dc.subjectDeveloping a Model-based Learning Developmenten
dc.subjectScientific Conceptsen
dc.subjectScientific Reasoningen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleEffects of Model-ฺBased Learning Development on the Scientific Concepts and Scientific Reasoning of Grade 7 Studentsen
dc.titleการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน ความเข้าใจมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ และการให้เหตุผลเชิง วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorMontree Wongsaphanen
dc.contributor.coadvisorมนตรี วงษ์สะพานth
dc.contributor.emailadvisormontree.v@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisormontree.v@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010585507.pdf4.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.