Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2025
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNattinee Chongkhoen
dc.contributorณัฐธินี ชงโคth
dc.contributor.advisorWipanee Songen
dc.contributor.advisorวิภาณี สุขเอิบth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T10:45:34Z-
dc.date.available2023-09-07T10:45:34Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued12/6/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2025-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study the level of digital quotient (DQ) of Mahachulalongkornrajavidyalaya University (MCU) undergraduate students, 2) to study the factors that correlate with the digital quotient of the students, and 3) to study the relationship between digital quotient and factors influencing digital quotient of the students. The sample were 377 MCU undergraduate students in the academic year 2021 recruited to the survey using muti-stage random sampling. The factors affecting Digital Quotient of Undergraduate Students Questionnaire was used for collecting data (r=.313 - .848) The descriptive statistics was used to analyze data along with Pearson correlation coefficient, and regression analysis. The results found as follows: 1. MCU undergraduate students possessed a high level of DQ in which the three highest mean score were “Keeping own safety aspect”, “Digital footprints management”, and “Privacy management”, respectively. 2. The factors related to the DQ of MCU undergraduate students overall were at a high level including “Motivation for cyber use”, “Learning management to enhance digital Intelligence”, “Role of family/guardian toward digital Intelligence”, and “Instruction environment”, respectively.   3. The four factors influencing DQ of the students consisted of Instruction environment (INEN), Motivation for cyber use (MFCU), Role of family/guardian toward digital quotient (RFDQ), and Learning management to enhance digital quotient (LMDQ). All 4 factors can be combined. The students' digital quotient can be predicted with a predictive power of 49.7%. and by writing the forecasting equation in the form of standard scores as follows. Z’y = .222 RFDQ + .243 INEN + .288 MFCU + .060 LMDQen
dc.description.abstractการวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาระดับความฉลาดทางดิจิทัลของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 2) ศึกษาระดับของปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความฉลาดทางดิจิทัลของนิสิต และ 3) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความฉลาดทางดิจิทัลของนิสิต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีการศึกษา 2564 จำนวน 377 คน/รูป ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และความฉลาดทางดิจิทัลของนิสิตปริญญาตรี วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1. นิสิตปริญญาตรีมีความฉลาดทางดิจิทัล โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยสามลำดับแรก คือ ด้านการรักษาความปลอดภัยของตนเอง ด้านการจัดการบริหารข้อมูลที่ผู้ใช้งานมีการทิ้งไว้บนโลกออนไลน์ และด้านการรักษาข้อมูลส่วนตัว ตามลำดับ 2. ระดับของปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความฉลาดทางดิจิทัลของนิสิตปริญญาตรี โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้ แรงจูงใจในการใช้งานโลกไซเบอร์ การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัล บทบาทของผู้ปกครองที่มีต่อความฉลาดทางดิจิทัล และสภาพแวดล้อมทางการเรียน ตามลำดับ 3. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความฉลาดทางดิจิทัลของนิสิตปริญญาตรี ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมทางการเรียน แรงจูงใจในการใช้งานโลกไซเบอร์ บทบาทของผู้ปกครองที่มีต่อความฉลาดทางดิจิทัล และการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัล โดยปัจจัยทั้ง 4 สามารถร่วมกันพยากรณ์ความฉลาดทางดิจิทัลของนิสิตได้โดยมีค่าอำนาจการพยากรณ์คิดเป็นร้อยละ 49.70 โดยเขียนสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน ได้ดังนี้ Z’y = .222 RFDQ + .243 INEN + .288 MFCU + .060 LMDQth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectความฉลาดทางดิจิทัลth
dc.subjectบทบาทครอบครัวth
dc.subjectแรงจูงใจth
dc.subjectสภาพแวดล้อมทางการเรียนth
dc.subjectการจัดการเรียนการสอนth
dc.subjectDigital Quotienten
dc.subjectFamily Roleen
dc.subjectMotivationen
dc.subjectInstructionalen
dc.subjectLearning Environmenten
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleA Study of Factors Affecting Digital Quotient of Undergraduate Students of Mahachulalongkornrajavidyalaya Universityen
dc.titleการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความฉลาดทางดิจิทัลของนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorWipanee Songen
dc.contributor.coadvisorวิภาณี สุขเอิบth
dc.contributor.emailadvisorwipanee.s@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorwipanee.s@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Psychology and Counselingen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนวth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010587003.pdf5.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.