Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2028
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSiraphat Saineten
dc.contributorสิรภัทร สายเนตรth
dc.contributor.advisorSumalee Chookhampaengen
dc.contributor.advisorสุมาลี ชูกำแพงth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T10:45:34Z-
dc.date.available2023-09-07T10:45:34Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued6/1/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2028-
dc.description.abstractThis action research aims 1) to develop modeling skill by using model-based learning of grade 11 students who pass have scores which are more than 70 per cent. 2) to develop scientific conceptual understanding by using model-based learning of grade 11 students. The target group was 31 students of Mattayomsuksa 5 students. Research instrument including 1) 9 lesson plans on the subject of “circulatory system and lymphatic system” based on using model-based learning, 2) modeling skill test, 3) modeling activity , 4) the 2-tier multiple choice scientific conceptual understanding test with rationale explanation and 7) a student interview form. The data were analyzed by standard statistics that contain average, standard deviation and percentage. The research showed that  1) There are 19 27 and 31 students who have modeling skill scores which reach to minimum requirement at 70 percent after students learned by model-based learning in first second and third cycles respectively. The modeling skill in first second and third cycles are 69.35, 75.00 and 81.03 which account for 72.24 78.13 and 84.41 percent respectively. When considering the score from 1) modeling skill test after instruction, the average scores are 31.26 35.26 and 38.16 that accounts for 65.12 73.45 and 79.50 respectively. 2) modeling activity, the average scores are 38.10 39.74 and 42.87 that account for 79.37 82.80 and 89.31 respectively. The previous data illustrate the number of students and modeling skill  score is increase after learned by using model based learning.  2) Students had develop scientific conceptual understanding on complete understanding or partial understanding levels in first second and third cycles 15 23 and 31 students are equal to 48.39 74.19 and 100.00 percentage respectively. The previous data illustrate the number of students and modeling skill score and develop scientific conceptual understanding increase after learned by using model-based learning.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการโดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาทักษะการสร้างแบบจำลองของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เพื่อพัฒนาความเข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 31 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานเรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือด และระบบน้ำเหลือง จำนวน 9 แผน 2) แบบทดสอบทักษะการสร้างแบบจำลอง 3) กิจกรรมการสร้างแบบจำลอง  4) แบบวัดความเข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ และ 5) แบบสัมภาษณ์นักเรียน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า   1) หลังจากที่นักเรียนได้รับการจัดการเรียนรู้นักเรียนมีคะแนนทักษะการสร้างแบบจำลองผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ในวงจรปฏิบัติการที่ 1 2 และ 3 คือ 19 27 และ 31 คน และมีค่าเฉลี่ยของคะแนนทักษะการสร้างแบบจำลองในแต่ละวงจรปฏิบัติการเท่ากับ 69.35 75.00 และ 81.03 คิดเป็นร้อยละ 72.24 78.13 และ 84.41 ตามลำดับ เมื่อพิจารณาแยกออกเป็น 1.1) คะแนนจากแบบทดสอบทักษะการสร้างแบบจำลองมีคะแนนเฉลี่ยในวงจรปฏิบัติการที่ 1 2 และ 3 เท่ากับ 31.26 35.26 และ 38.16 คิดเป็นร้อยละ 65.12 73.45 และ 79.50 ตามลำดับและ 1.2) คะแนนจากกิจกรรมการสร้างแบบจำลอง โดยมีคะแนนเฉลี่ยในวงจรปฏิบัติการที่ 1 2 และ 3 เท่ากับ 38.10 39.74 และ 42.87 คิดเป็นร้อยละ 79.37 82.80 และ 89.31 ตามลำดับ  2)  นักเรียนมีการพัฒนาความเข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ คือ มีความเข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ในระดับความเข้าใจที่สมบูรณ์หรือระดับความเข้าใจที่ถูกต้องแต่ไม่สมบูรณ์ ในวงจรปฏิบัติการที่ 1 2 และ 3 จำนวน 15 23 และ 31 คน คิดเป็นร้อยละ 48.39 74.19 และ 100.00 ตามลำดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีจำนวนนักเรียนที่มีคะแนนทักษะการสร้างแบบจำลองผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 และมีการพัฒนาความเข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นหลังจากที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานth
dc.subjectทักษะการสร้างแบบจำลองth
dc.subjectความเข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectการวิจัยปฏิบัติการth
dc.subjectModel-based Learningen
dc.subjectModeling Skillen
dc.subjectScientific Conceptual Understandingen
dc.subjectAction Researchen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleDevelopment of Modeling Skill and Scientific Conceptual Understanding by Model-based Learning for Grade 11 Studentsen
dc.titleการพัฒนาทักษะการสร้างแบบจำลอง และความเข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSumalee Chookhampaengen
dc.contributor.coadvisorสุมาลี ชูกำแพงth
dc.contributor.emailadvisorsupunnee.l@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorsupunnee.l@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010556022.pdf18.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.