Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2035
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPuttipong Sanguannam (Wisaratho)en
dc.contributorพุทธิพงษ์ สงวนนาม (วิสารโท)th
dc.contributor.advisorKarn Ruangmontrien
dc.contributor.advisorกาญจน์ เรืองมนตรีth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T10:45:36Z-
dc.date.available2023-09-07T10:45:36Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued10/1/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2035-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study: 1. To study the components and indicators of the educational institution administration system. to strengthen morality Ethics of secondary school students 2. To study the current condition desirable condition and the necessity of the educational institution administration system to strengthen morality Ethics of secondary school students 3. To develop a system of school administration to strengthen morality high school student ethics. 4. To study the results of the implementation of the educational institution administration system to strengthen morality The ethics of secondary school students were applied in order to be consistent with the research objectives. The researcher therefore presented it into 4 phases as follows: Phase 1, the study of elements of the educational institution administration system. to strengthen morality high school student ethics The group of informants consisted of 7 experts who examined the suitability of the elements, Phase 2 Study of the needs and necessities of the educational institution administration system to strengthen morality The ethics of secondary school students The population group included 2,358 secondary schools under the Office of the Basic Education Commission. The sample group included 111 secondary schools under the Office of the Basic Education Commission. It was obtained by using Multi-stage Random Sampling. The data were composed of school administrators, teachers, and academic supervisors, totaling 333 people, comparing the total number of schools. with the sample size table of Krejcie and Morgan, Phase 3 Development of the School Management System to strengthen morality high school student ethics The group of informants include 9 experts assessing the suitability, feasibility and usefulness of the system design, Phase 4 The study of the implementation of the educational institution administration system to strengthen morality high school student ethics The group of informants were teachers at Thomna Ngam School. Under the Udon Thani Secondary Education Service Area Office It consisted of 28 teachers of all learning subject groups who voluntarily participated in the development. The findings were as follows: 1. Elements and indicators of the educational institution administration system to strengthen morality The ethics of secondary school students has 5 main components and 11 minor components. 2. Current condition, desirable condition and the necessity of the educational institution administration system to strengthen morality high school student ethics moderate. 3. Develop an educational institution administration system to strengthen morality The ethics of secondary school students consists of 5 subsystems 1) Policy formulation and school action plans. 2) Promote, support and reinforce the work. 3) Create a mechanism of having Involve the whole school, community and family. 4) Exchange of knowledge and 5) Monitoring, reflecting, and evaluating results. 4. The results of the implementation of the system in voluntary schools showed that 1) Teachers had a high level of understanding of the system for developing and enhancing morality and ethics of secondary school students. 2) As a result, the school has passed the OBEC School Moral Ethics Assessment with a 3-star rating.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดของระบบการบริหารสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนมัธยมศึกษา 2. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของระบบการบริหารสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนมัธยมศึกษา 3. เพื่อพัฒนาระบบการบริหารสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนมัธยมศึกษา 4. เพื่อศึกษาผลการนำระบบการบริหารสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนมัธยมศึกษา ไปใช้ เพื่อให้สอดคล้องกับความมุ่งหมายของการวิจัย ผู้วิจัยจึงนำเสนอเป็น 4 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบของระบบการบริหารสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความเหมาะสมขององค์ประกอบ จำนวน 7 ท่าน ระยะที่ 2 การศึกษาความต้องการจำเป็นของระบบระบบการบริหารสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มประชากร ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 2,358 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 111 โรง ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) มีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และครูหัวหน้างานวิชาการ รวมจำนวน 333 คน โดยเทียบจำนวนโรงเรียนทั้งหมด กับตารางกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie และ Morgan ระยะที่ 3 การพัฒนาระบบการบริหารสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้และความความเป็นประโยชน์ของการออกแบบระบบ จำนวน 9 ท่าน ระยะที่ 4 การศึกษาผลการนำไปใช้ของระบบการบริหารสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ครูโรงเรียนทมนางาม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี ประกอบด้วยครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน 28 คน ที่สมัครใจเข้าร่วมพัฒนา ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบและตัวชี้วัดของระบบการบริหารสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนมัธยมศึกษามี 5 องค์ประกอบหลัก และ 11 `องค์ประกอบย่อย 2. สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของระบบการบริหารสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนมัธยมศึกษา อยู่ในระดับปานกลาง 3. พัฒนาระบบการบริหารสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนมัธยมศึกษา ประกอบด้วย 5 ระบบย่อย คือ 1) การกำหนดนโยบาย และแผนการปฏิบัติงานของโรงเรียน 2) ส่งเสริม สนับสนุน และเสริมแรงการทำงาน 3) สร้างกลไกการมี ส่วนร่วมทั้งโรงเรียน รวมถึงชุมชน และครอบครัว 4) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ 5) นิเทศติดตาม สะท้อนผล ประเมินผล 4. ผลการนำระบบไปใช้ในโรงเรียนที่สมัครใจผลปรากฏว่า 1) ครูมีความเข้าใจในการใช้ระบบการพัฒนาและเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนมัธยมศึกษาอยู่ในระดับมาก 2) นักเรียนโรงเรียนทมนางามมีระดับคุณธรรมจริยธรรมเพิ่มมากขึ้นส่งผลให้โรงเรียนได้ผ่านการประเมินโรงเรียนคุณธรรมจริยธรรมของ สพฐ ในระดับ 3 ดาวth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาระบบการพัฒนาครูth
dc.subjectเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมth
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาth
dc.subjectสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานth
dc.subjectDevelopment of Teacher Development Systemen
dc.subjectStrengthen Moralityen
dc.subjectSecondary School Studentsen
dc.subjectOffice of the Basic Education Commissionen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleDevelopment of Teacher Development System to Strengthen Morality, Ethics of Secondary School Students under the Office of the Basic Education Commissionen
dc.titleการพัฒนาระบบการพัฒนาครู เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorKarn Ruangmontrien
dc.contributor.coadvisorกาญจน์ เรืองมนตรีth
dc.contributor.emailadvisorKarn.r@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorKarn.r@msu.ac.th
dc.description.degreenameDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010562014.pdf6.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.