Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2037
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTaratchaporn Chantaraten
dc.contributorธรัชพร จันทรัตน์th
dc.contributor.advisorChowwalit Chookhampaengen
dc.contributor.advisorชวลิต ชูกำแพงth
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T10:45:36Z-
dc.date.available2023-09-07T10:45:36Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued30/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2037-
dc.description.abstractThis research aimed to 1) examine the conditions and problems involving the language for communication competency of the elementary school students, 2) develop the language for communication competency-based program and 3) investigate the implement outcomes of the program on 2 issues including, 3.1) the progression of the students' language for communication competency, and 3.2) the comparison of the students' language for communication competency before and after learning through the program. The research and development (R&D) process was used to develop the program which was divided into 3 phases including, Phase 1: Literature review and need analysis, Phase 2: Developing the program, and Phase 3: Investigation of the implementation outcomes. The sample group was 20 students in Grade 3 of Anuban Chantarat School, Sahassakan District, Kalasin Province, under Kalasin Provincial Education Office, Office of the Private Education Commissionin, in the second semester of the academic year 2022, selected by cluster random sampling. The research instruments were 1) a questionnaire for teachers on the conditions and problems towards teaching and learning management of the language for communication competency for the elementary school students, 2) an interviewing form for experts on the guidelines to develop   the program, 3) a user manual, 4) lesson plans, and 5) language for communication competency tests. The statistical analyses were percentage, mean, standard deviation, and t-test (Dependent Samples) was employed for testing hypothesis. The results of the research were as follows: 1. The conditions and problems involving the language for communication competency of the elementary school students were revealed as: 1.1 The students had overall problems in grammar and social-communicative competences at a high level. Considering each aspect, it was found that the grammatical competence in reading and writing were at the highest level of problem, while the social-communicative competence in listening and speaking were at the high level of problem. 1.2 Teachers had overall problems in teaching and learning management at a high level. When considering each aspect, it was found that contents according to the Basic Education Core Curriculum, 2008 were redundant, the learning management process did not promote learning and learners' potential, teachers lacked instructional materials that helped enhance teaching efficiency, teachers had to spend a lot of time in teaching to cover the content according to the Basic Education Core Curriculum B.E. 2551, measuring and evaluating learning before, during and after learning did not meet the objectives, and the lack of a variety of measurement and evaluation methods, making students' true potential unknown. 2. The development of the language for communication competency based program for elementary school students revealed that the program comprised of 6 components: 1) principles, 2) objectives, 3) content, 4) development process, 5) instructional materials, and 6) evaluation. There were 6 steps of the development process consisting of, Step 1: Warm up, Step 2: Pre-task, Step 3: Task-cycle, Step 4: Language focus, Step 5: Practice, and Step 6: Summarizing and transferring. Additionally, the program verified by 7 experts were consistent and appropriate at a high level.   3. The implementation of the language for communication competency based program for elementary school students revealed the findings as follows: 3.1 The students who studied using the program improved their communicative language competency as every learning unit had a significantly higher average score a statistical level of .05. 3.2 The students' language for communication competency after using the program was significantly higher than before using the program at a statistical level of .05, and was rated at an improving level of A2.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายคือ 1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้น 2. เพื่อพัฒนาโปรแกรมฐานสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้น 3. เพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมฐานสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้น 2 ประเด็น ได้แก่ 3.1) เพื่อศึกษาพัฒนาการในการมีสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้น และ 3.2) เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสาร โดยใช้โปรแกรมฐานสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสารสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้น ระหว่างก่อนใช้โปรแกรมและหลังใช้โปรแกรม ผู้วิจัยได้ดำเนินการพัฒนาโปรแกรมด้วยกระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and development) แบ่งการวิจัยออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาโปรแกรมฯ ระยะที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมฯ ระยะที่ 3 การศึกษาผลการใช้โปรแกรมฯ โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอนุบาลจันทรัตน์ อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์ ที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 20 คน ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบสอบถามความคิดเห็นครู 2) แบบสัมภาษณ์ครูผู้เชี่ยวชาญ 3) คู่มือการใช้โปรแกรมฯ 4) แผนการจัดการเรียนรู้ และ 5) แบบทดสอบวัดสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสาร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test (Dependent Samples)   ผลการวิจัยปรากฏผล ดังนี้ 1. ผลการศึกษาสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้น พบว่า                        1.1 นักเรียนมีปัญหาเกี่ยวกับด้านไวยากรณ์และด้านการสื่อสารทางสังคม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ปัญหาด้านไวยากรณ์ การอ่านและการเขียนอยู่ในระดับมากที่สุด ปัญหาด้านการสื่อสารทางสังคม การฟังและการพูดอยู่ในระดับมาก 1.2 ครูมีปัญหาในการจัดการเรียนการสอน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า เนื้อหามีความซ้ำซ้อน กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ไม่ส่งเสริมการเรียนรู้และศักยภาพของผู้เรียน ขาดสื่อการเรียนการสอนที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพการสอนของครูผู้สอน ครูต้องใช้ระยะเวลามากในการสอนเพื่อให้คลอบคลุมเนื้อหาตามหลักสูตร และขาดการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ตรงตามวัตถุประสงค์ และขาดความหลากหลายของวิธีการวัดและประเมินผล ทำให้ไม่ทราบถึงศักยภาพที่แท้จริงของนักเรียน 2. ผลการพัฒนาโปรแกรมฐานสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้น พบว่า โปรแกรมฐานสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้น มี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการ 2) จุดมุ่งหมาย 3) เนื้อหา 4) กระบวนการพัฒนา 5) สื่อวัสดุการเรียนการสอน และ 6) การประเมินผล ทั้งนี้ได้สังเคราะห์กระบวนการพัฒนา 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ 2 ก่อนการปฏิบัติภาระงาน ขั้นที่ 3 ดำเนินงานตามวงจรของการปฏิบัติภาระงาน ขั้นที่ 4 ตรวจสอบการใช้ภาษา ขั้นที่ 5 ฝึกฝนการใช้ภาษา และ ขั้นที่ 6 สรุปและถ่ายโยงการเรียนรู้ ผลการตรวจสอบคุณภาพของโปรแกรมจากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน พบว่ามีความสอดคล้องและมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 3. ผลการใช้โปรแกรมฐานสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้น พบว่า 3.1 นักเรียนที่เรียนโดยใช้โปรแกรมฐานสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสารสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้นมีพัฒนาการในการมีสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสารสูงขึ้น โดยทุกหน่วยการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.2 นักเรียนมีสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสารหลังใช้โปรแกรมฯ สูงกว่าก่อนใช้โปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสารอยู่ในระดับกำลังพัฒนา A2th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาโปรแกรมth
dc.subjectสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสารth
dc.subjectนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้นth
dc.subjectProgram Developmenten
dc.subjectLanguage for Communication Competencyen
dc.subjectElementary School Studentsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleLanguage for Communication Competency Base Program of Elementary School Studentsen
dc.titleโปรแกรมฐานสมรรถนะภาษาเพื่อการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้นth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorChowwalit Chookhampaengen
dc.contributor.coadvisorชวลิต ชูกำแพงth
dc.contributor.emailadvisorchowwalit.c@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorchowwalit.c@msu.ac.th
dc.description.degreenameDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010563004.pdf12.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.