Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2049
Title: | Developing a Teacher Development Program Learning Management of Problem-Based Learning for School under Surin Primary Educational Service Area Office 3 การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน(Problem-Based Learning) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 |
Authors: | Napatsanan Kakarndee นภัสนันท์ กะการดี Boonchom Srisa-ard บุญชม ศรีสะอาด Mahasarakham University Boonchom Srisa-ard บุญชม ศรีสะอาด boonchom.s@msu.ac.th boonchom.s@msu.ac.th |
Keywords: | โปรแกรมพัฒนาครู การจัดการเรียนรู้ ปัญหาเป็นฐาน Teacher Development Program Learning Management Problem-Based Learning |
Issue Date: | 20 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | This research aimed to 1) study current and desirable conditions of The developing teacher development program learning management of problem-based learning for school under Surin Primary Educational Service Area Office 3 2) Develop a program about The developing teacher development program learning management of problem-based learning for school under Surin Primary Educational Service Area Office 3. The research is divided into 2 stages. The first stage was about the study of the current condition and the desirable conditions of the developing teacher development program learning management of problem-based learning for school under Surin Primary Educational Service Area Office 3. The population was 3,039 teachers who are under Surin Primary Educational Service Area Office 3 in 2021. The sample was 341 teachers who are under Surin Primary Educational Service Area Office 3 in 2021. The information was collected by using questionnaire technique. The second stage was about the developing program of the developing teacher development program learning management of problem-based learning for school under Surin Primary Educational Service Area Office 3. This stage divided the process into 2 parts. First part was about interviewing three teachers from three schools which had best practice award about the learning. After developing the program, there were 7 experts evaluating the appropriateness and the feasibility of the program.
The research found that:
1. The current condition of the developing teacher development program learning management of problem-based learning for school under Surin Primary Educational Service Area Office 3 was in high level. The desirable conditions of the developing teacher development program learning management of problem-based learning for school under Surin Primary Educational Service Area Office 3 was in the highest level.
2. A developing program of the developing teacher development program learning management of problem-based learning for school under Surin Primary Educational Service Area Office 3 consisted of 5 components include: 1) Rationale 2) the objective of the program 3) description of program 4) processes and 5) evaluation.
3. The result of the appropriateness evaluation of a developing program of the developing teacher development program learning management of problem-based learning for school under Surin Primary Educational Service Area Office 3 was in highest level and the feasibility evaluation was in high level. การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 2) พัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 การวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่หนึ่ง ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ประชากรสำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 3,039 คน และกลุ่มตัวอย่าง เป็นตัวแทนครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 341 คน โดยเปิดตารางของ Krejie และ Morgan โดยวิธีการทำแบบสอบถาม ระยะที่สอง พัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 โดยมีการสัมภาษณ์สถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่ดี 3 แห่ง เพื่อมาสังเคราะห์ข้อมูลและพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน ตรวจสอบยืนยันและประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ของโปรแกรม เพื่อใช้ในการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์การพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด 2. การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) เนื้อหาการจัดการเรียนรู้ 4) การดำเนินการ และ 5) การวัดประเมินผล 3. การประเมินโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 โดยรวมมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด และความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2049 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63010581027.pdf | 4.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.