Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2057
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWimolsiri Kuntatamen
dc.contributorวิมลสิริ กันทาธรรมth
dc.contributor.advisorWittaya Worapunen
dc.contributor.advisorวิทยา วรพันธุ์th
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T11:13:13Z-
dc.date.available2023-09-07T11:13:13Z-
dc.date.created2022
dc.date.issued28/12/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2057-
dc.description.abstractThe purposes of this research were : 1) to develop the instructional package of tie-tye based on creative economy concept for mathayomsuksa 2 Students with an efficiency of 80/80;  2) to compare the creativity of mathayomsuksa 2 students’ achievement between before learning and after learning through the instructional package of tie-dye based on creative economy concept; 3) to compare learning achievement of mathayomsuksa of tie-dye based students after learning through the instructional package creative economy-concept who obtained 80 percent of total scores and 4) to study the satisfaction of mathayomsuksa 2 students through the instructional package of tie- dye based on creative economy concept. The sample for this research was 40 mathayomsuksa 2/6 students enrolled in the second semester of 2021 academic year. The research instrument  in this study were 1) the instructional package of tie-dye based on creative economy concept. 2) the creative thinking test has discrimination power between 0.53 - 0.88 and  the reliability of 0.75. 3) the achievement test has the discrimination power between 0.27 - 0.62 and  the reliability of 0.83 and 4) the questionnaire of students' satisfaction towards with the instructional package of tie-dye based on creative economy concept. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation and one sample t-test and dependent sample t-test were used in hypothesis test.  The research findings were as follows:  1. The instructional package of tie-dye based on creative economy concept of mathayomsuksa 2 Students had the efficiency of 80/80.   2. The students were more higher after learning than before learning score of the creativity at the .05 level of significance.  3. The students’s achievement after learning through the instructional package of tie-dye based on creative economy concept who obtained 80 percents at the .05 level of significance.   4. The mathayomsuksa2 students through the instructional package of tie- dye based on creative economy concept had the most satisfied. en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ผ้ามัดย้อมตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80  2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ผ้ามัดย้อมตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์  3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ผ้ามัดย้อมตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 80  4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ผ้ามัดย้อมตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 ภาคเรียนที่ 2      ปีการศึกษา 2564 จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ผ้ามัดย้อมตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์  แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.53 - 0.88 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.75 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.24 - 0.62 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.83 และแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้ผ้ามัดย้อมตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วย  t-test (One Sample  และ  Dependent Samples)  ผลการวิจัยปรากฏดังนี้              1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ผ้ามัดย้อมตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.98/83.25 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80   2. นักเรียนมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05                      3. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ผ้ามัดย้อมตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ผ้ามัดย้อมตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectชุดกิจกรรมการเรียนรู้, แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์, ผ้ามัดย้อมth
dc.subjectThe instructional packageen
dc.subjectcreative economy concepten
dc.subjectTie-Dyeen
dc.subject.classificationEconomicsen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers of vocational subjectsen
dc.titleThe Instructional Package Development of Tie-Dye  Based on Creative Economy Concept for Mathayomsuksa 2 Studentsen
dc.titleการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ผ้ามัดย้อมตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorWittaya Worapunen
dc.contributor.coadvisorวิทยา วรพันธุ์th
dc.contributor.emailadvisorWittaya.wo@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorWittaya.wo@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010582025.pdf8.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.