Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2061
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSupalak Trakulsrien
dc.contributorศุภลักษณ์ ตระกูลศรีth
dc.contributor.advisorWittaya Worapunen
dc.contributor.advisorวิทยา วรพันธุ์th
dc.contributor.otherMahasarakham Universityen
dc.date.accessioned2023-09-07T11:13:14Z-
dc.date.available2023-09-07T11:13:14Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued29/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2061-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to develop learning of folk dancing arts through video media. According to Davies' concept of practical skills Mathayomsuksa 1 students with performance (E1/E2) according to the specified criteria 80/80 2) to study the level of practical skills for learning folk dances with video media. of Mathayomsuksa 1 students 3) to compare the pre-school and post-school achievements by learning folk dances through video media. of students in grade 1 4) to study the student's satisfaction towards learning folk dance through video media According to Davies' concept of practical skills Secondary 1 student The population consisted of 30 Mathayomsuksa 1 students, Phet Wittayakarn School, Ban Phet Subdistrict, Phu Khiao District, Chaiyaphum Province, first semester, academic year 2022. The research tools consisted of a learning management plan. video media Performance evaluation test practical skill assessment form and satisfaction questionnaire Statistics used in data analysis were percentage, mean and standard deviation. The research findings were as follows: 1) the management of folk dance learning through video media; According to Davies' concept of practical skills Mathayomsuksa 1 students' efficiency (E1/E2) was 87.34/82.07, which was higher than the criteria of 80/80. According to Davies' concept of practical skills Grade 1 students had an average of 16.41, representing 82.07 percent. 3) The level of practical skills for learning folk dances through video media. of Mathayomsuksa 1 students had an average of 16.43, representing 82.17% and 4) the student's satisfaction towards learning folk dances through video media. According to Davies' concept of practical skills Mathayomsuksa 1 students were generally at a high level (X= 4.52, S.D.= 0.60).en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาการเรียนรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านด้วยสื่อวีดิทัศน์ ตามแนวคิดทักษะปฏิบัติของเดวีส์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีประสิทธิภาพ (E1/E2) ตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 2) เพื่อศึกษาระดับทักษะปฏิบัติการเรียนรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านด้วยสื่อวีดิทัศน์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการเรียนรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านด้วยสื่อวีดิทัศน์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านด้วยสื่อวีดิทัศน์ ตามแนวคิดทักษะปฏิบัติของเดวีส์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 30 คน โรงเรียนเพชรวิทยาคาร ตำบลบ้านเพชร อำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ ภาคเรียนที่ 1  ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ สื่อวีดิทัศน์ แบบทดสอบวัดผลสมฤทธิ์ แบบประเมินทักษะปฏิบัติและแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดการเรียนรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านด้วยสื่อวีดิทัศน์ ตามแนวคิดทักษะปฏิบัติของเดวีส์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ (E1/E2) มีค่าเท่ากับ 87.34/82.07 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 2) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการจัดการเรียนรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านด้วยสื่อวีดิทัศน์ ตามแนวคิดทักษะปฏิบัติของเดวีส์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ย 16.41 คิดเป็นร้อยละ 82.07 3) ระดับทักษะปฏิบัติปฏิบัติการเรียนรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านด้วยสื่อวีดิทัศน์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ย 16.43 คิดเป็นร้อยละ 82.17 และ 4) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านด้วยสื่อวีดิทัศน์ ตามแนวคิดทักษะปฏิบัติของเดวีส์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ((X= 4.52, S.D.= 0.60).th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการเรียนรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านth
dc.subjectสื่อวีดิทัศน์th
dc.subjectรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีth
dc.subjectLearning of Folk Dancing Artsen
dc.subjectVido Mediaen
dc.subjectDavies’ Instructional Model for Psychomotor Domainen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for pre-school teachersen
dc.titleThe development of folk dance learning through video media According to Davies' concept of practical skills Secondary 1 studenten
dc.titleการพัฒนาการเรียนรู้นาฏศิลป์พื้นบ้านด้วยสื่อวีดิทัศน์ ตามแนวคิดทักษะปฏิบัติของเดวีส์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorWittaya Worapunen
dc.contributor.coadvisorวิทยา วรพันธุ์th
dc.contributor.emailadvisorWittaya.wo@msu.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorWittaya.wo@msu.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาหลักสูตรและการสอนth
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010582048.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.