Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2066
Title: Results of Using Cooperative Learning Management STAD Technique to Improve French Writing Ability of Matayom Suksa 5 Students
การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD เพื่อพัฒนาความสามารถการเขียนภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
Authors: Tawiwan Kananam
ทวิวรรณ คณะนาม
Kanyarat Sonsupap
กันยารัตน์ สอนสุภาพ
Mahasarakham University
Kanyarat Sonsupap
กันยารัตน์ สอนสุภาพ
kanyarat.s@msu.ac.th
kanyarat.s@msu.ac.th
Keywords: การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD
การเขียนภาษาฝรั่งเศส
Cooperative Learning
STAD Technique
French Writing Ability
Issue Date:  15
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This is an experimental research. The objectives are 1) Develop Basic French writing ability by using Cooperative Learning Management STAD that are effective according to the criteria 80/80. 2) Compare the French Writing Ability of students between before and after learning. 3) Compare the French Writing Ability of students with the specified criteria. 4) Study the satisfaction of students who have been been educated by Cooperative Learning Management STAD. The research group population is 40 students in Mathayomsuksa 5, Strisuksa School, Roi Et Province& gathered from Cluster Random Sampling. Research tools used to collect data: 1) The Cooperative Learning Management STAD Plan for Matayom Suksa 5 Student, Subject: French for skill enhancement (F30212), 6 lesson plans, 2 hours each, total 12 hours.  2) Basic French Writing Proficiency Test. 3) The Student satisfaction questionnaires towards Cooperative Learning Management STAD. The results of the study were as follows: 1) The average score from the regular testing plan of 6 Cooperative Learning Management STAD plans with an average of 82.23 percent and scores from The Basic French Writing Proficiency Test after learning an average of 80.69 percent. Therefore, Cooperative Learning Management STAD to Improve Basic French Writing Ability is therefore effective 82.23/80.69, which is higher than the specified criteria. 2) The t-test (dependent sample) comparing French writing ability of students before and after learning showed a significant increase in post-learning scores at the 0.01 level (t = 17.33**). 3) Testing scores for the Basic French Writing Ability of 40 students with an average score before learning: 39.00 points, accounting for 65.00 percent of the score less than after learning. Which has an average score of 48.41, accounting for 80.69 percent of the full score, meets the specified criteria. The t-test (One Sample) found that students' post-learning average scores were significantly higher than the criteria of 80 percent of the full score at the .01 level (t = 2.5175**) 4) The result of Student satisfaction questionnaires towards Cooperative Learning Management STAD, overall, with a high level of satisfaction ( = 4.35)
การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงทดลอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาความสามารถการเขียนภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้นโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบความสามารถการเขียนภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้นของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน 3) เปรียบเทียบความสามารถการเขียนภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้นของนักเรียนกับเกณฑ์ที่กำหนด และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ประชากรกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ที่ได้เรียนวิชาภาษาฝรั่งเศสเสริมทักษะ จำนวนทั้งสิ้น 40 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวบข้อมูลคือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD วิชาภาษาฝรั่งเศสเสริมทักษะ (ฝ30212) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 6 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวม 12 ชั่วโมง  2) แบบทดสอบวัดความสามารถการเขียนภาษาฝรั่งเศส ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 1 ฉบับ แบ่งออกเป็น 2 ตอน คะแนนเต็มรวม 60 คะแนน  3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD รูปแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จำนวน 28 ข้อ ผลจากการวิจัยปรากฎได้ดังนี้  1) คะแนนเฉลี่ยจากแบบแบบทดสอบประจำแผนการจัดการเรียนรู้ทั้งหมด 6 แผน มีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 82.23/80.69  ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด  2) ความสามารถการเขียนภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้นของนักเรียนจากผลการทดสอบ t-test (Dependent Sample) พบว่าคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01    (t = 17.33**)  3) คะแนนการทดสอบวัดความสามารถการเขียนภาษาฝรั่งเศสของนักเรียนจำนวน 40 คน มีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน 39.00 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 65.00 ของคะแนนเต็ม น้อยกว่าคะแนนหลังเรียน ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย 48.41 คิดเป็นร้อยละ 80.69 ของคะแนนเต็ม ผลการทดสอบ t-test (One Sample) พบว่า นักเรียนได้คะแนนหลังเรียนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 ของคะแนนเต็มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (t = 2.5175**)  4) ผลการประเมินความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD โดยภาพรวม มีความพึงพอใจในระดับมาก ( = 4.35)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/2066
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64010552006.pdf6.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.